การตอบโต้แผนฉุกเฉินเกี่ยวกับสารเคมี
.jpg)
ในปี 2560 ประเทศไทยได้มีการนำเข้าสารเคมีอันตราย 197,758.809 ตัน ซึ่งมีแนวโน้มสูงขึ้นเมื่อพิจารณาเทียบกับปี 2559 ที่มีการนำเข้าสารเคมีอันตรายเพียง 160,687.089 ตัน (เครือข่ายเตือนภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช, 2560) ทั้งนี้การนำเข้าดังกล่าวเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนางานด้านเกษตรกรรม และงานด้านอุตสาหกรรม ฯ โดยสารที่นำเข้ามานี้สามารถจัดจำแนกตามจำพวกเบื้องต้นได้ดังนี้ วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด วัตถุมีพิษ และวัตถุกัดกร่อน
และจากการนำสารเคมีอันตรายมาใช้งาน ด้วยความไม่รู้ ไม่เข้าใจ หรือไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบนั้นจึงส่งผลให้เกิดอุบัติภัยหลายรูปแบบ โดยพิจารณาได้จากสถิตการเกิดอุบัติภัยจากวัตถุเคมีของประเทศไทยตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 25559 ถึง วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2560 พบว่าอุบัติภัยสารเคมีเกิดขึ้นทั้งหมด จำนวน 89 ครั้ง จำแนกลักษณะเหตุการณ์ได้เป็น การเกิดจากเพลิงไหม้ จำนวน 43 ครั้ง, การรั่วไหลของสารเคมี จำนวน 17 ครั้ง, การระเบิด จำนวน 14 ครั้ง, อุบัติเหตุจากการขนส่ง จำนวน 9 ครั้ง, การลักลอบทิ้ง จำนวน 9 ครั้ง และการปนเปื้อน จำนวน 1 ครั้ง (รายงานการเฝ้าระวังสถานการณ์อุบัติภัยสารเคมี กระทรวงสาธารณสุข, 2560) จากสถิติจะเห็นได้ว่า อุบัติภัยการเกิดจากเพลิงไหม้ และวิธีการกักเก็บสารเคมีเป็นสาเหตุหลักสำคัญ ที่ทำให้เกิดอุบัติภัยจากวัตถุเคมี ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันและลดการเกิดอุบัติภัยที่จะเกิดขึ้น


วิทยากรได้รับการขึ้นทะเบียนจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

เน้นทำ Workshop ให้ได้ลงมือทำจริงในห้องเรียน
บรรยากาศการเรียนที่เป็นกันเอง

เมื่อมาอบรมกับเราท่านจะได้รับ
ใบประกาศวุฒิบัตรผ่านการอบรม
ใบประกาศวุฒิบัตรผ่านการอบรม
อบรมสารเคมี ตามกฎหมาย
สถานประกอบกิจการที่มีการทำงานกับสารเคมีอันตรายหรือมีสารเคมีอันตรายไว้ในครอบครองควรต้องเรียนรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการสารเคมีอันตรายต่างๆเหล่านี้ให้เกิดความปลอดภัยตามมาตรฐานสากลและข้อกฎหมาย
สิ่งที่ต้องเตรียมมาในวันที่อบรม

1. เอกสารหักภาษี ณ ที่จ่าย 3%
( ฉบับจริง )

2. บัตรประชาชน/ใบขับขี่
( เพื่อตรวจสอบรายชื่อ )

3. โทรศัพท์มือถือ
( เพื่อทำข้อสอบแบบออนไลน์ )
การตอบโต้แผนฉุกเฉินเกี่ยวกับสารเคมี
ท่านสามารถค้นหาหลักสูตรการตอบโต้แผนฉุกเฉินเกี่ยวกับสารเคมี
สิ่งที่ได้รับหลังผ่านการอบรม

เมื่อมาอบรมกับเราท่านจะได้รับ
ใบประกาศวุฒิบัตรผ่านการอบรม
หรือใบเซอร์
อย่างเป็นทางการ 1 ฉบับ/ท่าน

สารเคมีอันตราย
การทำงานกับสารเคมีอันตราย สารเคมีรั่วไหล ซึ่งอาจทำให้ลูกจ้างได้รับสารเคมี อันตราย เช่น การผลิตการควบการหกรั่วไหลสารเคมี การติดฉลาก การห่อหุ้ม การเคลื่อนย้าย การเก็บรักษา การถ่ายเท การขนถ่าย การขนส่ง การกำจัด การทำลายการเก็บสารเคมีอันตรายที่ไม่ใช้แล้ว รวมทั้ง การป้อง การบำรุงรักษา การซ่อมแซม และการทำความสะอาดเครื่องมือเครื่องใช้ ตลอดจนภาชนะบรรจุสารเคมีอันตราควรจัดให้พนักงานที่ทำงานกับสารเคมีอันตรายได้รับการฝึกอบรมการทำงานกับสารเคมีก่อนทำงานเสมอ
การตอบโต้แผนฉุกเฉินเกี่ยวกับสารเคมี
สารเคมี คืออะไร สารพิษ (Poisons) คือ สารเคมีที่มีสภาพเป็นของแข็ง ของเหลวหรือก๊าซซึ่งสามารถเข้าสู่ร่างกาย ระหว่างการปฏิบัติงานโดยเฉพาะการสัมผัสทางผิวหนังและการหายใจ สารเคมีบางประเภทคือสิ่งที่ก่อให้เกิดอันตราย แก่ผู้ปฏิบัติงานหรือสิ่งที่เรียกว่า สารเคมีอันตราย การทำงานกับสารเคมีอันตราย สารเคมีรั่วไหล ซึ่งอาจทำให้ลูกจ้างได้รับสารเคมีอันตราย
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
ข้อมูลที่เป็นประโยชน์

ไม่พลาดโปรโมชั่นพิเศษก่อนใคร สมัครรับข่าวสารฟรี!
ไม่พลาดโปรโมชั่นพิเศษก่อนใคร สมัครรับข่าวสารฟรี!
เรามีบริการอาหารกลางวันและขนมเบรคให้ผู้เข้าอบรม
เฉพาะผู้ที่เข้ารับการอบรมในรูปแบบ Public Training
บริการดี อาหารอร่อย เมนูอาหารหลากหลาย กับบรรยากาศที่ดูสบายตาเหมือนได้มาพักผ่อน
พร้อมเจ้าหน้าที่
ยินดีให้บริการตลอดรับบริการให้เช่าสถานที่ อบรม-สัมมนา ประชุม, งานมงคล อื่นๆ








ตัวอย่างลูกค้าเพียงบางส่วนของเรา
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)