มาถอดรหัสสีของสายไฟฟ้ากันเถอะ!?- เซฟตี้อินไทย
อบรมหลักสูตรฟรี 2567          คลิกที่นี่

บทความ

มาถอดรหัสสีของสายไฟฟ้ากันเถอะ!?



มาถอดรหัสสีของสายไฟฟ้ากันเถอะ!?

สีของ สายไฟ มีความหมายอย่างไรบ้างนะ
หลายคนอาจสงสัยว่า สีสายไฟ แต่ละสีมีความหมายหรือไม่อย่างไร บทความนี้จะช่วยไขข้อข้องใจเหล่านี้ให้หมดไป ด้วยความหมายของแต่ละสีของสายไฟ เพื่อให้ง่ายต่อการใช้งานมากยิ่งขึ้น

สีสายไฟ

สีดำ (เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล) หมายถึง ลวดความร้อน หรือลวดที่มีกระแสไฟฟ้าและนำพลังงานไปสู่วงจรทั้งหมด ส่วนใหญ่จะจ่ายไฟไปยังเต้าเสียบหรือสวิตซ์ไฟฟ้า

สีแดง (เปลี่ยนเป็นสีดำ) หมายถึง ลวดความร้อนสายที่สองสำหรับเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดใหญ่ เช่น แอร์,
เตาอบ , โทรทัศน์ เป็นต้น

สีน้ำเงิน และ สีเหลือง (เปลี่ยนเป็นสีเทา) หมายถึง ลวดความร้อน ใช้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าเคลื่อนที่ ที่ใช้ปลั๊กทั่วไป เช่นพัดลม โคมไฟ เครื่องดูดฝุ่นเป็นต้น

สีขาว หรือ สีเทา (เปลี่ยนเป็นสีฟ้า) หมายถึง สายกลางที่จำเป็นสำหรับความปลอดภัยของเครื่องใช้ไฟฟ้า
สีเขียว หมายถึง สายดิน ช่วยป้องกันการเกินไฟฟ้าช็อตได้ ช่วยป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าลัดวงจรหรือไฟไหม้

ระบบไฟฟ้า 1 เฟส

สายเฟส (L) ฉนวนเป็น สีน้ำตาล
สายนิวทรัล (N) ฉนวนเป็น สีฟ้า
สายดิน (G) ฉนวนเป็น สีเขียวแถบเหลือง

ระบบไฟฟ้า 3 เฟส


สายเฟส (L1) ฉนวนเป็น สีน้ำตาล
สายเฟส (L2) ฉนวนเป็น สีดำ
สายเฟส (L3) ฉนวนเป็น สีเทา
สายนิวทรัล (N) ฉนวนเป็น สีฟ้า
สายดิน (G) ฉนวนเป็น สีเขียวแถบเหลือง

ระบบไฟฟ้า 3 เฟส

สีสายไฟจากเดิม
L1 – สีดำ
L2 – สีแดง
L3 – สีฟ้า
N – สีขาว/เทา
G – สีเขียวแถบเหลือง
ทดสอบมาตรฐานระบบไฟฟ้าภายในอาคาร
ทำงานถูกกฎหมายสบายใจกว่า!!! อบรมทดสอบมาตรฐานระบบไฟฟ้าภายในอาคาร 2 วัน ได้ใบรับรองผลการอบรม จองอบรมตอนนี้

Comments


businessman

โปรโมชัน
อบรมจป.กับเซฟตี้อินไทย

อบรมจป.กับเซฟตี้อินไทย ในราคาสุดคุ้ม! โปรโมชั่นลดสูงสุด 30% เฉพาะเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน 2567

บทความล่าสุด
อัปเดตวิธีการวัดระดับเสียงการรบกวน2567 จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม

อัปเดต! วิธีการวัดระดับเสียงการรบกวน2567 จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม

ประกาศจากกรมสวัสดิการล่าสุด

ประกาศจาก กสร. เรื่องการเทียบเท่าวุฒิไม่ต่ำกว่า ป.ตรี อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

ประกาศกสร.หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการฝึกอบรมผู้บริหารหัวหน้างานและลูกจ้าง ฉ.2

ประกาศกสร.หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการฝึกอบรมผู้บริหารหัวหน้างานและลูกจ้าง ฉ.2

บทความยอดนิยม
อุบัติเหตุและอันตรายจากการทำงาน,อันตรายจากการทํางาน มีอะไรบ้าง,สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุภายในที่ทำงาน,สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุบัติเหตุภายในที่ทำงาน,

สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุภายในที่ทำงาน

กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานเกี่ยวกับระบบการจัดการด้านความปลอดภัย พ.ศ. 2565

กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานเกี่ยวกับระบบการจัดการด้านความปลอดภัย พ.ศ. 2565

กฎกระทรวงเกี่ยวกับรถยก รถโฟล์คลิฟท์ forklift 2564

นายจ้างต้องรู้! กฎกระทรวงเกี่ยวกับรถยก 2564

แบ่งปัน
ติดต่อสอบถามคลิกไลน์ Safety In Thai ติดต่อสอบถามคลิกไลน์ Safety In Thai ติดต่อสอบถามคลิกไลน์ Safety In Thai