2. ถุงมือ ใช้ป้องกันสารเคมีสิ่งปนเปื้อนและการติดเชื้อ
3. รองเท้าบูท ใช้ป้องกันการกัดกร่อนของสารเคมีและการซึมผ่านของน้ำ
4. แว่นครอบตา/หน้ากาก แว่นควรมีวาล์วระบายความร้อนใช้สำหรับหน้างานที่มีไอสารเคมี
5. ชุดกันสารเคมี ใช้ป้องกันการกระเด็นของสารเคมีและละอองน้ำสกปรก
ทำให้เนื้อเยื่อของร่างกายไหม้พอง ได้แก่ สารละลายพวกกรดและด่างเข้มข้น น้ำยาฟอกขาว
ชนิดทำให้ระคายเคือง (Irritants)
ชนิดที่มีผลกระทบต่อระบบประสาท
ส่งผลต่อการกระตุ้นการทำงานของระบบประสาท ทำให้หมดสติ หรือเกิดอาการเพ้อคลั่ง ชีพจรเต้นเร็ว เช่นใบยาสูบ ทินเนอร์
ให้ล้างผิวหนังบริเวณที่ถูกสารเคมี โดยใช้น้ำสะอาดล้างให้มากที่สุด เพื่อให้เจือจางถ้าสารเคมีเป็นกรดให้รีบถอดเสื้อผ้าออกก่อน
ผู้ที่ได้รับอันตรายจากสารเคมีที่ตา
ให้ล้างตาด้วยน้ำสะอาดทันที โดยเปิดเปลือกตาขึ้นให้น้ำไหลผ่านตาอย่างน้อย 15 นาที ป้ายขี้ผึ้งป้ายตา แล้วรีบนำส่งแพทย์โดยเร็ว
ผู้ที่ได้รับอันตรายจากสารเคมีในการสูดดม
ให้ย้ายผู้ที่ได้รับสารนั้นไปที่มีอากาศบริสุทธิ์ ประเมินการหายใจและการเต้นของหัวใจ ถ้าไม่มีให้ช่วยทำการปฐมพยาบาลเบื้องต้นด้วยการ CPR
Comments
บทความล่าสุด
หลักเกณฑ์การประเมินโดยวิธีการทดสอบ หลักสูตรจป.เทคนิคขั้นสูง และระดับวิชาชีพ
10 มกราคม 2568ขี่มอเตอร์ไซค์ปลอดภัย ออกทริปเดินทางหายห่วง
25 ธันวาคม 2567ขับรถเที่ยวฝ่าหมอกอย่างปลอดภัย
25 ธันวาคม 2567
บทความยอดนิยม
สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุภายในที่ทำงาน
4 มิถุนายน 2565กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานเกี่ยวกับระบบการจัดการด้านความปลอดภัย พ.ศ. 2565
12 เมษายน 2565การตรวจสอบถังดับเพลิงเบื้องต้น ตามกฎหมาย
24 มิถุนายน 2566
แบ่งปัน