โรคจากการทำงานตามกฎหมายสำหรับ จป.
โรคจากการทำงานตามกฎหมาย 2565
โรคจากการทำงานตามกฎหมาย
ตามกฎกระทรวง การจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย ในการทำงานบุคลากร หน่วยงาน หรือคณะบุคคลเพื่อดำเนินการด้านความปลอดภัย ในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2565 หมวดที่ 1 ส่วนที่ 2 ข้อที่ 21 วงเล็บที่ 12 ของ จป. วิชาชีพ ให้ความรู้ และ อบรมด้านโรคจากการประกอบอาชีพ (โรคจากการทำงาน) และ สิ่งแวดล้อมแก่ลูกจ้างก่อนเข้าทำงานและ ระหว่างทำงานเพื่อทบทวนความรู้ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
โรคจากการทำงาน คืออะไร
โรคจากการทำงาน (Occupational Disease) คือ ภาวะสุขภาพ หรือความผิดปกติ ที่เกิดจากสภาพ
เป็นโรคที่ไม่ได้มีสาเหตุมาจากการทำงานโดยตรง แต่การทำงานเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งเสริมให้เกิดโรค หรืออาจส่งผลให้โรคที่เป็นรุนแรงมากขึ้นแวดล้อมในการทำงานหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับการทำงา เช่น ความผิดปกติของระบบกล้ามเนื้อและกระดูก ความเครียดหลังเกิดบาดแผล มะเร็ง แต่การทำงานเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งเสริมให้เกิดโรค หรืออาจส่งผลให้โรคที่เป็นรุนแรงมากขึ้น เช่น โรคความดันโลหิตสูงจากความเครียด, จากการทำงาน หรือโรคกระเพราะอาหารจากการทำงานกะ เป็นต้น
โรคจากการทำงาน คืออะไร
โรคจากการทำงาน อาจเกิดได้จากหลายสาเหตุ
สารชีวภาพ เช่น แบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา ปรสิต แมลง พืช นก สัตว์ หรือคน
สารเคมี เช่น เบอริลเลี่ยม ตะกั่ว เบนซีน ไอโซไซยาเนต
ปัญหาตามหลักการยศาสตร์ เช่น การเคลื่อนไหวซ้ำๆ การติดตั้งสถานีงาน แสงสว่างไม่เพียงพอ การออกแบบ เครื่องมือที่ไม่เหมาะสม
ทางกายภาพ เช่น รังสีที่แตกตัวเป็นไอออน สนามแม่เหล็ก อุณหภูมิ เสียง ความสั่นสะเทือน ปัญหาทางสังคม เช่น ความเครียด ความรุนแรง การกลั่นแกล้งการล่วงละเมิด และการขาดการยอมรับ เป็นต้น
ปัจจัยอื่นๆ ที่กำหนดการพัฒนา
หรือความรุนแรงของโรคจากการทำงาน ได้แก่
ㆍปริมาณการสัมผัสหรือปริมาณที่เข้าสู่ร่างกายㆍ ระยะเวลาในการสัมผัสㆍความเป็นพิษของสารเคมีㆍการขับสารออกจากร่างกายㆍ ความไวในการรับสัมผัสส่วนบุคคลㆍผลกระทบที่เกี่ยวเนื่องกัน เช่น่ การสูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์ㆍการสัมผัสสารเคมีชนิดอื่น
ความรุนแรงของโรค ขึ้นอยู่กับการรับสัมผัสสารด้วย เช่นกันโดยทั่วไป หากยิ่งรับสัมผัสเป็นเวลานาน และปริมาณความเข้มข้นที่สูง ความเสี่ยงหรือการพัฒนาของโรคต่อสุขภาพก็จะสูงขึ้นตามไปด้วย
โรคจากการทำงาน สามารถป้องกันได้อย่างไร
การป้องกันโรคจากการทำงานสามารถทำได้ เพื่อทำให้ผู้ปฏิบัติงานปลอดภัยจากอันตรายที่อาจเกิดขึ้นในขณะที่ปฏิบัติงาน โดยสามารถป้องกันได้ ดังนี้
- เรียนรู้อันตรายในสถานที่ทำงาน เพื่อหาวิธีป้องกันผู้ปฏิบัติงานจากอันตรายนั้น- นายจ้างควรพัฒนาระบบความปลอดภัย โปรแกรม ข้อกำหนดและขั้นตอนการทำงาน ที่ออกแบบมาเพื่อ ป้องกันผู้ปฏิบัติงานในสถานที่ทำงานไม่ให้เกิดการบาดเจ็บหรือเจ็บป่วย และลูกจ้างควรปฏิบัติตาม- สื่อสารความเป็นอันตรายต่อสุขภาพและความเสี่ยงต่อพนักงาน ให้ข้อมูลที่เหมาะสม และอบรมให้ความรู้ กับผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้สามารถป้องกันตนเองจากอันตรายเบื้องต้นได้
- เรียนรู้อันตรายในสถานที่ทำงาน เพื่อหาวิธีป้องกันผู้ปฏิบัติงานจากอันตรายนั้น
- นายจ้างควรพัฒนาระบบความปลอดภัย โปรแกรม ข้อกำหนดและขั้นตอนการทำงาน ที่ออกแบบมาเพื่อ ป้องกันผู้ปฏิบัติงานในสถานที่ทำงานไม่ให้เกิดการบาดเจ็บหรือเจ็บป่วย และลูกจ้างควรปฏิบัติตาม
- สื่อสารความเป็นอันตรายต่อสุขภาพและความเสี่ยงต่อพนักงาน ให้ข้อมูลที่เหมาะสม และอบรมให้ความรู้ กับผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้สามารถป้องกันตนเองจากอันตรายเบื้องต้นได้
โรคจากการทำงาน สามารถป้องกันได้อย่างไร
- ทำงานร่วมกับผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพเพื่อสอบสวนการบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วยที่มีลักษณะบ่งชี้ว่าอาจ เกี่ยวข้องกับการทำงาน เช่น บอกกับผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพว่าทำงานที่ไหนทำงานอะไร และเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ใด เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยเสี่ยงที่อาจส่งผลต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน
- ทำงานร่วมกับผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพเพื่อสอบสวนการบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วยที่มีลักษณะบ่งชี้ว่าอาจ เกี่ยวข้องกับการทำงาน เช่น บอกกับผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพว่าทำงานที่ไหนทำงานอะไร และเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ใด เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยเสี่ยงที่อาจส่งผลต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน