ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับรังสี - เซฟตี้อินไทย
อบรมหลักสูตรฟรี สำหรับสมาชิก          คลิกที่นี่
ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับรังสี

ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับรังสี | ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี


ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับรังสี การป้องกันอันตรายจากรังสีจะประสบความสำเร็จตามเป้าหมายได้ ขึ้นอยู่กับการบริหารองค์กรความปลอดภัย (Safety organization) ให้มีประสิทธิภาพสูง ประกอบกับผู้ปฏิบัติงานทางรังสีในหน่วยงานนั้น และผู้บังคับบัญชาที่รับผิดชอบ จะต้องร่วมมือกันให้การสนับสนุน และให้ความสนใจอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนติดตามการจัดการในทุกระดับชั้นอย่างระมัดระวัง โดยอาศัยมาตรการต่างๆ



“ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี” หมายความว่า ผู้ปฏิบัติงานให้กับผู้รับใบอนุญาตหรือผู้แจ้งทั้งแบบเต็มเวลาแบบไม่เต็มเวลา หรือแบบชั่วคราว การดำเนินการใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ประโยชน์จากรังสีของผู้รับใบอนุญาตหรือผู้แจ้งจะกระทำได้ก็ต่อเมื่อก่อให้เกิดประโยชน์ต่อบุคคลหรือสังคมมากกว่าผลเสียที่อาจได้รับ และให้กระทำโดยคำนึงถึงความปลอดภัยต่อบุคคล ประชาชน และสิ่งแวดล้อมเป็นสำคัญการได้รับรังสีของบุคคลจากการดำเนินการตามวรรคหนึ่ง ต้องเป็นไปโดยมีมาตรการควบคุมให้ได้รับรังสีน้อยที่สุดเท่าที่จะสามารถดำเนินการได้อย่างสมเหตุสมผล โดยพิจารณาถึงปัจจัยต่าง ๆที่เกี่ยวข้อง รวมไปถึงจำนวนบุคคลที่ได้รับรังสี ความเป็นไปได้ในการได้รับรังสีและปริมาณรังสีที่จะได้รับความเสี่ยงทางรังสีซึ่งเกิดจากเหตุการณ์อันอาจคาดหมายได้ และลักษณะการก่อให้เกิดอันตรายจากรังสีทั้งนี้ โดยจะต้องคำนึงถึงปัจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีประกอบด้วย

ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับรังสี

วิทยากรได้รับการขึ้นทะเบียนจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

เน้นทำ Workshop ให้ได้ลงมือทำจริงในห้องเรียน บรรยากาศการเรียนที่เป็นกันเอง

เมื่อมาอบรมกับเราท่านจะได้รับ
ใบประกาศวุฒิบัตรผ่านการอบรม

ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับรังสี | ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี


ท่านสามารถค้นหาหลักสูตรความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับรังสี | ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี


หลักการและเหตุผล


กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับรังสีชนิดก่อไอออน พ.ศ. 2547 กำหนดให้นายจ้างจัดให้ลูกจ้างซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับรังสีได้รับการอบรมให้เข้าใจและทราบถึงอันตรายและวิธีการป้องกันอันตรายจากรังสีก่อนเข้ารับหน้าที่ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีกำหนด

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้พนักงานให้เข้าใจและทราบถึงอันตรายเกี่ยวกับรังสี
2. เพื่อให้พนักงานเข้าใจวิธีการป้องกันอันตรายจากรังสี

หัวข้อการอบรม
1. ความหมาย ชนิดและประเภทของรังสีกฎหมายว่าด้วยความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับรังสีชนิดก่อไอออน
2. การป้องกันอันตรายจากรังสีการประเมินสภาพงานและการเตรียมความพร้อมในการทำงานในพื้นที่และการควบคุมทางรังสี
3. วิธีการปฏิบัติงานในบริเวณรังสีอย่างถูกต้องและปลอดภัยอันตรายที่อาจได้รับในกรณีฉุกเฉิน และวิธีการหลีกหนีภัยกฎและข้อปฏิบัติในการทำงานเกี่ยวกับรังสี
4. ป้าย เครื่องหมายเตือนภัย ข้อความเตือนภัยเกี่ยวกับรังสีการใช้อุปกรณ์บันทึกปริมาณรังสีประจำตัวบุคคลการใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล

ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับรังสี | ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี



ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับรังสี รังสี radius
ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับรังสี อันตรายจากรังสี
ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับรังสี อันตรายจากรังสี ความไวของรังสี
ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับรังสี การป้องกัน justification
ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับรังสี การป้องกัน optimization
ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับรังสี การป้องกัน doselimit

ข้อมูลที่เป็นประโยชน์



สิ่งที่ต้องเตรียมมาในวันที่อบรม



1. เอกสารหักภาษี ณ ที่จ่าย 3%

( ฉบับจริง )

2. บัตรประชาชน/ใบขับขี่

( เพื่อตรวจสอบรายชื่อ )

3. โทรศัพท์มือถือ

( เพื่อทำข้อสอบแบบออนไลน์ )

สิ่งที่ได้รับหลังผ่านการอบรม



เมื่อมาอบรมกับเราท่านจะได้รับ
ใบประกาศวุฒิบัตรผ่านการอบรม
หรือใบเซอร์ อย่างเป็นทางการ 1 ฉบับ/ท่าน

บรรยากาศการอบรม


บรรยากาศการอบรม เน้นทำ Workshop ให้ได้ลงมือทำจริง
ในห้องเรียน ในบรรยากาศการเรียนที่เป็นกันเอง เนื้อหาเข้มข้น
และสามารถนำไปใช้ได้จริงในการทำงาน



การประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัย

การประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัย
(Safety Risk assessment)


การชี้บ่งอันตรายและประเมินความเสี่ยงจากการทำงาน ( Risk Assessment ) เป็นวิธีการและขั้นตอนที่ระบุลำดับความเสี่ยงของอันตรายทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของงาน ที่ครอบคลุมขั้นตอนการทำงาน สถานที่ เครื่องจักร อุปกรณ์ บุคลากร ที่อาจก่อให้เกิดการบาดเจ็บ ความเจ็บป่วย ความเสียหายต่อทรัพย์สินและสิ่งแวดล้อม หรือสิ่งต่าง ๆ รวมกัน ในหัวข้อนี้จะอธิบายถึงหลักการ และวิธีการประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย การอธิบายถึงความจำเป็นที่ต้องประเมินความเสี่ยงการประมาณระดับความเสี่ยงโดยคำนึงถึง ความรุนแรงและโอกาสที่จะเกิดอันตราย เพื่อนำมาพิจารณาว่าเป็นความเสี่ยงที่ยอมรับได้ หรือยอมรับไม่ได้ และการวางแผนควบคุมความเสี่ยงที่ยอมรับไม่ได้




  • เพื่อทราบปัจจัยเสี่ยงอันตรายและการชี้บ่งอันตรายพร้อมการค้นหาอันตราย
  • เพื่อฝึกปฏิบัติในการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย (JSA) และการกำหนดมาตรฐานความปลอดภัยในการทำงาน
  • เพื่อกำหนดให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถจัดทำการวิเคราะห์งานและมาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานของส่วนงาน แผนกที่ตนเองรับผิดชอบ

IN-HOUSE TRAINING

เราพร้อมให้คำปรึกษา
และมอบคำแนะนำหลักสูตรดีๆให้กับคุณ

โทร 033-166121

เรามีบริการอาหารกลางวันและขนมเบรคให้ผู้เข้าอบรม
เฉพาะผู้ที่เข้ารับการอบรมในรูปแบบ Public Training


บริการดี อาหารอร่อย เมนูอาหารหลากหลาย กับบรรยากาศที่ดูสบายตาเหมือนได้มาพักผ่อน
พร้อมเจ้าหน้าที่ ยินดีให้บริการตลอดรับบริการให้เช่าสถานที่ อบรม-สัมมนา ประชุม, งานมงคล อื่นๆ


อาหาร
อาหาร
อาหาร
อาหาร
อาหาร
อาหาร
อาหาร
อาหาร

บทความที่เกี่ยวข้อง


ไซยาไนด์

ไซยาไนด์ สารเคมีอันตราย

ไซยาไนด์ (Cyanide)          เป็นสารเคมีที่มีสูตรเคมีชนิดหนึ่ง เป็นสารพิษที่สามารถกระทำให้เกิดการขาดออกซิเจนในเซลล์ของร่างกาย มีไซยาไนด์ธรรมชาติอยู่ในพืชบางชนิด เช่น มันฝรั่ง มันสำปะหลัง และมะเขือเทศโพด แต่ไซยาไนด์ที่มีผลกระทบต่อร่างกายมนุษย์เป็นพิษ เ

ซ๊เซียม137;  สารกัมมันตรังสี;

ซีเซียม-137 สารกัมมันตรังสี อันตรายแค่ไหน

ซีเซียม-137 สารกัมมันตรังสี อันตรายแค่ไหนซีเซียม-137 (Cs-137) เป็นธาตุกึ่งโลหะที่มีระยะเวลาครึ่งชีวิตยาวนาน โดยมาจากการแยกซีเซียม-137 จากแร่ Uranium-235 ในกระบวนการเผาไหม้เชิงนิวเคลียร์ และมักจะใช้เป็นแหล่งกำเนิดรังสีในงานวิจัย และการแพร่กระจายรังสีในการเจาะเจ

วิธีการอ่านป้ายสัญลักษณ์ที่ติดบนภาชนะบรรจุสารเคมีและวัตถุอันตราย

วิธีการอ่านป้ายสัญลักษณ์ที่ติดบนภาชนะบรรจุสารเคมีและวัตถุอันตราย

ไขข้อสงสัย! ป้ายสัญลักษณ์ที่ติดบนภาชนะบรรจุสารเคมีและวัตถุอันตราย บ่งบอกถึงอะไร?หลายๆคนคงเคยเห็น สัญลักษณ์ แล้วเวลาขับรถบนท้องถนน หรืออาจจะเห็นตามขวดสารเคมีต่างๆ ซึ่งสัญลักษณ์เหล่านี้คือ "สัญลักษณ์ แสดงความเป็นอันตราย" นั่นเอง แต่! เคยสงสัยไหม

ความปลอดภัยทางรังสี ความ ปลอดภัย ในการใช้รังสี คู่มือ ความ ปลอดภัย ในการ ทำงาน กับ รังสี ประโยชน์จากรังสี ด้านความ ปลอดภัย มาตรฐาน การป้องกันอันตรายจากรังสี ความ ปลอดภัย ในการใช้รังสี คู่มือความปลอดภัยทางรังสี มาตรฐานความ ปลอดภัย ทางรังสี อันตรายจากรังสี รังสีที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ วิธีป้องกันจากรังสี รังสีมีอันตรายจริงหรือไม่ อบรมความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับรังสี ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี เซฟตี้อินไทย

ความปลอดภัยทางรังสี

ความปลอดภัยทางรังสี-เซฟตี้อินไทยการป้องกันการทำงานสำหรับคนที่ทำงานเกี่ยวกับรังสีเป็นสิ่งสำคัญ รังสีมีทั้งประโยชน์และอันตรายเพราะฉะนั้นเรามาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ ความปลอดภัยทางรัง สำหรับคนที่สนใจ อบรมความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับรังสีผ

การเก็บสารเคมีอันตราย, คู่มือการเก็บสารเคมีอันตราย, การจัดเก็บสารเคมีอย่างปลอดภัย, การจัดเก็บสารเคมีที่ถูกต้อง, การเก็บสารเคมีและวัตถุอันตราย, หลักการเก็บสารเคมี, วิธี การใช้สารเคมีที่ถูกต้องและปลอดภัย, พื้นที่จัดเก็บสารเคมีอันตราย

คู่มือการเก็บสารเคมีอย่างไรให้ถูกต้อง

คู่มือการเก็บสารเคมีอย่างไรให้ถูกต้อง2565การเก็บสารเคมีให้ถูกต้อง          การเก็บสารเคมีอย่างไรให้ถูกต้อง สามารถทำได้อย่างไร ก่อนอื่น เซฟตี้อินไทย จะขออธิบายให้ท่านได้ทราบก่อนว่า สารเคมี คืออะไรทำไมเราต้องเก็บสารเคมีให้ถูกต้อง สารเคมี คือ สารที่

ความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี ppt ,คู่มือ ความปลอดภัยในการทำงานกับสารเคมี,การจัดการสารเคมีในโรงงาน,ประเภทพิษของสารเคมี,คู่มือการจัดการสารเคมี,ความ ปลอดภัย ในการ ทํา งานเกี่ยวกับสารเคมี,ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย 2565,การทํางานกับสารเคมีให้ปลอดภัยมีวิธีดังต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด,การทำงานเกี่ยวกับเคมีเซฟตี้อินไทย

การทำงานเกี่ยวกับสารเคมี 2565

การทำงานเกี่ยวกับสารเคมี 2565เกร็ดความรู้สำหรับคนทำงานเกี่ยวกับสารเคมี   วัตถุดิบที่สําคัญที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและอุตสาหกรรมคือ สารเคมี และสารเคมีบางประเภทคือสิ่งที่ก่อให้เกิดอันตราย แก่ผู้ปฏิบัติงานหรือสิ่งที่เรียกว่า สารเคมีอันตรายการทํ

กสร.ประกาศเรื่องแบบแจ้งประเภทต้นกำเนิดรังสี ปริมาณรังสี

กสร.ประกาศเรื่องแบบแจ้งประเภทต้นกำเนิดรังสี ปริมาณรังสี

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเรื่อง แบบแจ้งประเภทต้นกำเนิดรังสี ปริมาณรังสี สถานประกอบกิจการซึ่งต้นกำเนิดรังสีตั้งอยู่ข้อมูลเกี่ยวกับการอนุญาตหรือการแจ้งการครอบครองหรือใช้ และกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยที่กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐ

กสร.ประกาศ แบบจัดทำข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณรังสีสะสมและ แบบแจ้งปริมาณรังสีสะสม

กสร.ประกาศ แบบจัดทำข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณรังสีสะสมและ แบบแจ้งปริมาณรังสีสะสม

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานแบบจัดทำข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณรังสีสะสมและแบบแจ้งปริมาณรังสีสะสมที่เกินกำหนดของลูกจ้างซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับรังสีโดยที่กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานการทำงานเกี่ยวกับรังสี พ.ศ. ๒๕๖๔ ข้อ ๑๓ กำหนดให้นายจ้างต้องจัดท

เตือนนายจ้างหากมีสารเคมีอันตรายตามบัญชีฯ ไม่ส่งเเบบสอ.1 ระวังมีโทษ,สอ.1 คืออะไร,สอ1ส่งเดือนไหน,สอ1ส่งที่ไหน

เตือนนายจ้าง!? หากมีสารเคมีอันตรายตามบัญชีฯ ไม่ส่งเเบบสอ.1 ระวังมีโทษ

เตือนนายจ้าง!? หากมีสารเคมีอันตรายตามบัญชีฯ ไม่ส่งเเบบสอ.1 ระวังมีโทษสารเคมีอันตราย (สอ.)"สารเคมีอันตราย" หมายความว่า ธาตุ สารประกอบ หรือสารผสม"ตามบัญชีรายชื่อที่อธิบดีประกาศกำหนด" ซึ่งมีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปของเส้นใย ฝ

มาตรการความปลอดภัยเกี่ยวกับการจัดการสารเคมี ในโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565,ใหม่ล่าสุดมาตรการความปลอดภัยเกี่ยวกับการจัดการสารเคมี ในโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565

มาตรการความปลอดภัยเกี่ยวกับการจัดการสารเคมี ในโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565

มาตรการความปลอดภัยเกี่ยวกับการจัดการสารเคมี ในโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565กรณีดังกล่าวนี้อาจเป็นเหตุให้นำไปสู่การเกิดอุบัติเหตุที่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อประชาชน ทรัพย์สิน สิ่งแวดล้อม ในโรงงานและชุมชนโดยรอบโรงงานขึ้นมาได้ ประกอบกับกฎหมายว่าด้วย

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการตรวจวัด และการวิเคราะห์ผลการตรวจวัดระดับความเข้มข้น ของสารเคมีอันตราย (ฉบับที่ ๒ )

ประกาศก.สร เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีการตรวจวัด วิเคราะห์ของสารเคมีอันตราย ฉบับที่ 2

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการตรวจวัด และการวิเคราะห์ผลการตรวจวัดระดับความเข้มข้น ของสารเคมีอันตราย (ฉบับที่ ๒ )           ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความในข้อ ๘ แห่งประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการตรวจ

สารบอเเรกซ์

เตือนภัยสัญญานอันตรายเมื่อรับสารบอเเรกซ์ปริมาณสูง

บอแรกซ์ สารอันตรายที่แฝงอยู่ในอาหารบอแรกซ์ เป็นสารเคมีชื่อว่า โซเดียมโบเรท (Sodium Borate) หรือที่เราเรียกกันว่าผงกรอบหรือน้ำประสานทอง เป็นผงสีขาว ไม่มีกลิ่น ละลายน้ำได้ ตามหลักวิชาการบอแรกซ์ เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ถ้ากินเข้าไปร่างกายจะอ่อนเพลีย เบื่ออ

ประกาศคณะกรรมการพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ พ.ศ.2564

ประกาศคณะกรรมการพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ พ.ศ.2564

ประกาศคณะกรรมการพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ          เรื่อง การจัดทารายงานวิเคราะห์ความเหมาะสมของพื้นที่ตั้งสถานที่ให้บริการจัดการกากกัมมันตรังสีพ.ศ. ๒๕๖๔          อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๓ (๘) และมาตรา ๘๐ วรรคสอง ประกอบกับมาตรา ๕๑วรรคสาม แห่งพระราชบ

กำหนดค่าธรรมเนียมและยกเว้นค่าธรรมเนียมใบอนุญาตทางนิวเคลียร์และรังสี พ.ศ.2564

กำหนดค่าธรรมเนียมและยกเว้นค่าธรรมเนียมใบอนุญาตทางนิวเคลียร์และรังสี พ.ศ.2564

กำหนดค่าธรรมเนียมและยกเว้นค่าธรรมเนียมใบอนุญาตทางนิวเคลียร์และรังสี พ.ศ.2564          อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ พ.ศ. ๒๕๕๙ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ (ฉบับที่ ๒) พ

กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานการทำงานเกี่ยวกับรังสี2564

กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานการทำงานเกี่ยวกับรังสี 2564

กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานการทำงานเกี่ยวกับรังสี พ.ศ. ๒๕๖๔อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๘ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้กฏกร

เก็บสารเคมีอย่างไรให้ปลอดภัย

เก็บสารเคมีอย่างไรให้ปลอดภัย          วิธีที่สะดวกและมีผู้ใช้กันมากที่สุดคือ เรียงตามตัวอักษร แต่การจัดแบบดังกล่าวอาจทำให้สารที่ไม่ควรอยู่ใกล้กันมาเก็บไว้ด้วยกัน ซึ่งอาจเกิดระเบิดหรือปล่อยก๊าซพิษออกมาเมื่อไรก็ได้ ดังนั้นวิธีเก็บสารเคมีโดยรีย

ข้อควรระวังอันตรายในห้องปฎิบัติการ

การทำงานในห้องปฏิบัติการเกี่ยวข้องกับสารเคมี อุปกรณ์ และขั้นตอนการทดลองที่อาจเป็นอันตรายได้ หากไม่ระมัดระวัง ดังนั้น การปฏิบัติตามข้อควรระวังต่างๆ จึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง เพื่อป้องกันอุบัติเหตุและรักษาความปลอดภัยของทุกคนในห้องปฏิบัติการ

สไตรีน สารเคมีร้ายอันตรายถึงชีวิต

สไตรีนสารเคมีร้ายอันตรายถึงชีวิตสไตรีน (Styrene)ลักษณะของเหลวใสและข้นเหนียว สูตรทางเคมี C8H8 , CAS #. 100-42-5 น้ำหนักโมเลกุล 104.16 ถ้าสารมีอุณหภูมิ 31°C (88°F) ขึ้นไป จะเป็นสารไวไฟขึ้น การดับเพลิงให้ใช้น้ำยาประเภทคาร์บอนไดออกไซด์หรือเคมีแห้ง จะทำปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับส

chemical

ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี

ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี           วัตถุดิบที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและอุตสาหกรรม คือ สารเคมี และสารเคมีบางประเภทคือสิ่งที่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้ปฏิบัติงานหรือสิ่งที่เรียกว่า สารเคมีอันตราย การทำงานกับสารเคมีอันตราย สารเคมีรั่วไหล ซึ่

บริการ inhouse public training

ไม่พลาดโปรโมชั่นพิเศษก่อนใคร




ไม่พลาดโปรโมชั่นพิเศษก่อนใคร




ตัวอย่างลูกค้าเพียงบางส่วนของเรา



บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
ติดต่อสอบถามคลิกไลน์ Safety In Thai ติดต่อสอบถามคลิกไลน์ Safety In Thai ติดต่อสอบถามคลิกไลน์ Safety In Thai