ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร-เซฟตี้อินไทย
อบรมหลักสูตรฟรี 2567          คลิกที่นี่
ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร

ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร (Machine Safety Audit)


ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร (Machine Safety Audit)

การล็อคและแขวนป้ายอุปกรณ์ (Machine Safety and Lockout Tagout)เป็นระบบที่จะทำให้เกิดความปลอดภัยในการทำงาน โดยในงานบำรุงรักษาเครื่องจักร มักจะเป็นงานที่เกิดอุบัติเหตุได้บ่อย ทั้งนี้อาจเกิดจากสถานที่ๆ ไม่เอื้ออำนวย หรือไม่มีความปลอดภัย อย่างเช่น เครื่องมืออุปกรณ์วางไม่เรียบร้อย,วัสดุไม่ได้จัดวางเป็นระเบียบ หรืออาจจะเกิดจากอุปนิสัยของช่างซ่อมบำรุงเอง และหากเกิดอุบัติเหตุขึ้น ก็จะทำให้พวกเขาได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิตลงได้



โดยจะส่งผลโดยตรงต่อหน่วนงานหรือโรงงานอุตสาหกรรมนั้นๆ ในด้านสวัสดิการ และผลผลิต ตลอดจนคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ฉะนั้น การป้องกันอุบัติเหตุ จึงเป็นสิ่งจำเป็นยิ่งนัก สำหรับอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในงานซ่อมบำรุง อันเนื่องมาจากสาเหตุจากสภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย และการกระทำที่ไม่ปลอดภัย ซึ่งจะส่งผลกระทบกับพนักงานและองค์กรโดยตรง ในเรื่องของ P Q C D S M E ดังนั้นเรื่อง การล็อคและแขวนป้ายอุปกรณ์ (Machine Safety and Lockout Tagout)สำหรับระบบการบำรุงรักษาเครื่องจักรที่ถูกวิธีจะทำให้ผู้เข้าฝึกอบรมเพิ่มประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย ในการทำงาน

วิทยากรได้รับการขึ้นทะเบียนจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

เน้นทำ Workshop ให้ได้ลงมือทำจริงในห้องเรียน บรรยากาศการเรียนที่เป็นกันเอง

เมื่อมาอบรมกับเราท่านจะได้รับ
ใบประกาศวุฒิบัตรผ่านการอบรม

ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร


ท่านสามารถค้นหาหลักสูตรความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร


หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล


ตามกฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการและดำเนินการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทำงาน เกี่ยวกับ เครื่องจักร ปั้นจั่นและหม้อน้ำ พ.ศ. 2564 กำหนดว่า ในการทำงานเกี่ยวกับ เครื่องปั๊มโลหะ เครื่องเชื่อมไฟฟ้า เครื่องเชื่อมก๊าซ หรือ เครื่องจักรชนิดอื่นที่อาจก่อให้เกิดอันตรายจากการใช้งานได้โดยสภาพ นายจ้างต้องใช้ลูกจ้าง ซึ่งผ่านการอบรม เกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการทำงานที่ปลอดภัยในการทำงาน กับเครื่องจักร การป้องกันอันตรายจากเครื่องจักร รายละเอียดเกี่ยวกับโครงสร้างอุปกรณ์ การตรวจสอบและบำรุงรักษาอุปกรณ์ของเครื่องจักรนั้น โดยวิทยากรซึ่งมีความรู้ ความ เชี่ยวชาญ และประสบการณ์การทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักรแต่ละประเภท หลักสูตร "ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร" นี้ได้รวบรวมความรู้ที่จำเป็น สำหรับผู้ปฏิบัติงานกับ เครื่องจักรแต่ละประเภท ให้สามารถนำความรู้ไปใช้ปฏิบัติ ตามวัตถุประสงค์และเจตนารมณ์

วัตถุประสงค์
1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมหรือผู้ปฏิบัติงานกับเครื่องจักร เข้าใจถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นขณะปฏิบัติงาน
2) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมหรือผู้ปฏิบัติงานกับเครื่องจักร ได้ทราบถึงขั้นตอนการทำงานที่ปลอดภัย หลักการทำงานกับเครื่องจักร ในสถานประกอบกิจการ /โรงงานอย่างถูกต้อง
3) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมหรือผู้ปฏิบัติงานกับเครื่องจักร ทราบถึงวิธีป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นขณะปฏิบัติงาน
4) เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานหรือผู้ปฏิบัติงานกับเครื่องจักร ทราบถึงข้อกฎหมายและมาตรฐานการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง มีความ ตระหนักถึงความปลอดภัยในการทำงานกับเครื่องจักรประเภทต่างๆ

คุณสมบัติผู้เข้ารับการอบรม



ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้

1. พนักงานผู้ปฏิบัติงานกับเครื่องจักรหรือเครื่องมือ

2. หัวหน้างานผู้ควบคุมดูแลงานที่ต้องใช้เครื่องจักรในการทำงาน

3. เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน

4. ช่างซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องจักร ช่างเทคนิค วิศวกร ผู้ดูแลเครื่องจักร

ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร



บทความความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร-03
บทความความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร-02
บทความความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร-01
บทความความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร-04
บทความความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร-05
บทความความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร-06

ข้อมูลที่เป็นประโยชน์



สิ่งที่ต้องเตรียมมาในวันที่อบรม



1. เอกสารหักภาษี ณ ที่จ่าย 3%

( ฉบับจริง )

2. บัตรประชาชน/ใบขับขี่

( เพื่อตรวจสอบรายชื่อ )

3. โทรศัพท์มือถือ

( เพื่อทำข้อสอบแบบออนไลน์ )

สิ่งที่ได้รับหลังผ่านการอบรม



เมื่อมาอบรมกับเราท่านจะได้รับ
ใบประกาศวุฒิบัตรผ่านการอบรม
หรือใบเซอร์ อย่างเป็นทางการ 1 ฉบับ/ท่าน

บัตรประจำตัวผู้ผ่านการอบรม



ทางศูนย์อบรมของเรามีบัตรประจำตัว
สำหรับผู้ที่ผ่านการทดสอบ
ชำระค่าบัตรเพียง 250 บาท/ท่าน

เน้นทำ Workshop ให้ได้ลงมือทำจริง


บรรยากาศการเรียนที่เป็นกันเอง เนื้อหาเข้มข้น และสามารถนำไปใช้ได้จริงในการทำงาน



กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานเครื่องจักร ปั้นจั่น หม้อนํ้า
รวมคลิปอุบัติเหตุที่มักจะเกิดขึ้นในที่ทำงาน ใจไม่ถึงห้ามดู

การประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัย
(Safety Risk assessment)


การชี้บ่งอันตรายและประเมินความเสี่ยงจากการทำงาน ( Risk Assessment ) เป็นวิธีการและขั้นตอนที่ระบุลำดับความเสี่ยงของอันตรายทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของงาน ที่ครอบคลุมขั้นตอนการทำงาน สถานที่ เครื่องจักร อุปกรณ์ บุคลากร ที่อาจก่อให้เกิดการบาดเจ็บ ความเจ็บป่วย ความเสียหายต่อทรัพย์สินและสิ่งแวดล้อม หรือสิ่งต่าง ๆ รวมกัน ในหัวข้อนี้จะอธิบายถึงหลักการ และวิธีการประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย การอธิบายถึงความจำเป็นที่ต้องประเมินความเสี่ยงการประมาณระดับความเสี่ยงโดยคำนึงถึง ความรุนแรงและโอกาสที่จะเกิดอันตราย เพื่อนำมาพิจารณาว่าเป็นความเสี่ยงที่ยอมรับได้ หรือยอมรับไม่ได้ และการวางแผนควบคุมความเสี่ยงที่ยอมรับไม่ได้




  • เพื่อทราบปัจจัยเสี่ยงอันตรายและการชี้บ่งอันตรายพร้อมการค้นหาอันตราย
  • เพื่อฝึกปฏิบัติในการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย (JSA) และการกำหนดมาตรฐานความปลอดภัยในการทำงาน
  • เพื่อกำหนดให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถจัดทำการวิเคราะห์งานและมาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานของส่วนงาน แผนกที่ตนเองรับผิดชอบ

IN-HOUSE TRAINING

เราพร้อมให้คำปรึกษา
และมอบคำแนะนำหลักสูตรดีๆให้กับคุณ

โทร 033-166121

เรามีบริการอาหารกลางวันและขนมเบรคให้ผู้เข้าอบรม
เฉพาะผู้ที่เข้ารับการอบรมในรูปแบบ Public Training


บริการดี อาหารอร่อย เมนูอาหารหลากหลาย กับบรรยากาศที่ดูสบายตาเหมือนได้มาพักผ่อน
พร้อมเจ้าหน้าที่ ยินดีให้บริการตลอดรับบริการให้เช่าสถานที่ อบรม-สัมมนา ประชุม, งานมงคล อื่นๆ


อาหาร
อาหาร
อาหาร
อาหาร
อาหาร
อาหาร
อาหาร
อาหาร

บทความที่เกี่ยวข้อง


ประกาศจากกรมสวัสดิการล่าสุด

ประกาศจาก กสร. เรื่องการเทียบเท่าวุฒิไม่ต่ำกว่า ป.ตรี อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

ประกาศล่าสุดจาก กรมสวัสดิการ เรื่อง การเทียบเท่าวุฒิไม่ต่ำกว่า ป.ตรี สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัยโดยที่กฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน บุคลากร หน่วยงานหรือคณะบุคคลเพื่อดำเนินการด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2565 ข

ประกาศกสร.หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการฝึกอบรมผู้บริหารหัวหน้างานและลูกจ้าง ฉ.2

ประกาศกสร.หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการฝึกอบรมผู้บริหารหัวหน้างานและลูกจ้าง ฉ.2

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการฝึกอบรมผู้บริหาร หัวหน้างานและลูกจ้างด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน (ฉบับที่ ๒)          โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มคร

บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บังคับปั้นจั่น, ข้อควรปฏิบัติในการยกวัสดุเกี่ยวกับปั้นจั่น, ข้อห้ามปฏิบัติในการยกวัสดุเกี่ยวกับปั้นจั่น, กฎหมายปั้นจั่น 2565, ข้อควรปฏิบัติเกี่ยวกับปั้นจั่น, ข้อห้ามปฏิบัติเกี่ยวกับปั้นจั่น, ข้อควรปฏิบัติเกี่ยวกับปั้นจั่น 2565, ข้อห้ามปฏิบัติเกี่ยวกับปั้นจั่น 2565, บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บังคับปั้นจั่น 2566,บทความเครน-ปั้นจั่น

บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บังคับปั้นจั่น

บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บังคับเครน-ปั้นจั่น 2566   บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บังคับเครน-ปั้นจั่น สามารถทำได้อย่างไร ก่อนอื่น เซฟตี้อินไทย จะขออธิบายให้ท่านได้ทราบก่อนว่า เครน-ปั่นจั่นและผู้บังคับปั่นจั่น คืออะไร เครน-ปั่นจั่นและผู้บ

ความปลอดภัยของการทำงานบนที่สูง 2565 ความปลอดภัยของการทำงานบนที่สูง คู่มือ ความ ปลอดภัย ในการ ทำงาน บนที่สูง กฎหมาย การ ทำงาน บนที่สูง 2564 การทํางานบนที่สูง กี่เมตรความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง 2565 ความปลอดภัยในการทำงานที่สูง คืออะไร ความปลอดภัยของการทำงานบนที่สูงล่าสุด

ความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง2565-เซฟตี้อินไทย

ความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง2565ความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง           ความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูงคืออะไร สามารถป้องกันอุบัติเหตุได้อย่างไร ก่อนอื่น เซฟตี้อินไทย จะขออธิบายให้ท่านได้ทราบก่อนว่า ความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง คือ "ความปลอดภัยใน

อันตรายจากการ ทํา งานกับ เครื่องจักร, อันตรายจากเครื่องจักร มีอะไรบ้าง, อันตรายจากเครื่องจักร โรงงาน, อุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากเครื่องจัก, การป้องกันอันตรายจากเครื่องจักร, อุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากเครื่องจักรเซฟตี้, อันตรายจากเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ

การป้องกันและควบคุมอันตรายจากเครื่องจักร

การป้องกันและควบคุมอันตรายจากเครื่องจักรทำอย่างไรวันนี้เซฟตี้อินไทยมีคำตอบ          เราอาจเคยสงสัยหรือเคยพบเห็นหรือได้ฟังข่าวอุบัติเหตุจากการทำงานซึ่งเกิดจากเครื่องจักร เป็นผลทำให้ได้รับบาดเจ็บสาหัส บางคนสูญเสียอวัยวะจนต้องพิการสูญเสียโอกา

กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานเกี่ยวกับระบบการจัดการด้านความปลอดภัย พ.ศ. 2565

กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานเกี่ยวกับระบบการจัดการด้านความปลอดภัย พ.ศ. 2565

กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานเกี่ยวกับระบบการจัดการด้านความปลอดภัย พ.ศ. 2565 อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๘ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติ ความปลอดภัย อาชีวอนำมัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงแรงงานออกกฎกระทรวงไว้ ด

เเนวทางป้องกันอุบัติเหตุในงานก่อสร้างจากปั่นจั่น

เเนวทางป้องกันอุบัติเหตุในงานก่อสร้างจากปั้นจั่น

เเนวทางป้องกันอุบัติเหตุในงานก่อสร้างจากปั้นจั่นอุบัติเหตุ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างไม่คาดหวังและไม่ตั้งใจในเวลาและสถานที่แห่งหนึ่ง เกิดขึ้นโดยไม่มีสิ่งบอกเหตุล่วงหน้าแต่มีสาเหตุและส่งผลกระทบที่สามารถชี้วัดได้ อุบัติเหตุเป็นผลเชิงลบของ

สัญญาณมือเครนสากล ปั้นจั่น

สัญญาณมือเครน-ปั้นจั่นสากล

สัญญาณมือเครนสากล 1.หยุดยกของฉุกเฉิน : เหยียดแขนทั้งสองข้างออกไประดับหัวไหล่ ฝ่ามือคว่ำลง แล้วเหวี่ยงไป - มา ในแนวระดับไหล่อย่างรวดเร็ว2.หยุดยกของ : เหยียดแขนซ้ายออกไปในระดับไหล่แบบคว่ำฝ่ามือ แล้วเหวี่ยงไป - มา ในแนวระดับไหล่อย่างรวดเร็ว3.ให้หยุดแ

วิธีสวมใส่สายรัดนิรภัยชนิดเต็มตัว ป้องกันการตกจากที่สูง

วิธีสวมใส่สายรัดนิรภัยชนิดเต็มตัว

อุปกรณ์ป้องกันการตกจากที่สูง(Fall Protection Devices)การทำงานในที่สูง เช่น งานก่อสร้าง งานทำความสะอาด งานไฟฟ้า จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ป้องกันการตกจากที่สูง ได้แก่เข็มขัดนิรภัย ประกอบด้วยตัวเข็มจัด และเชือกนิรภัย ตัวเข็มขัด ทำด้วยหนังเส้นใยจากฝ้าย และใยสังเครา

ใหม่ล่าสุด! กฎกระทรวงการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น 2564

กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๔          “ปั้นจั่น” หมายความว่า เครื่องจักรที่ใช้ยกสิ่งของขึ้นลงตามแนวดิ่ง และเคลื่อนย้ายส

เครื่องจักรสำหรับการใช้ยกคนขึ้นที่สูง

กฎกระทรวงเกี่ยวกับเครื่องจักรสำหรับใช้ในการยกคนขึ้นทำงานบนที่สูง 2564

กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๔          “เครื่องจักรสำหรับใช้ในการยกคนขึ้นทำงานบนที่สูง” หมายความว่า เครื่องจักรที่ออกแบบ

ความปลอดภัยในการใช้เครื่องจักร

ความปลอดภัยในการทำงานกับเครื่องจักร         กฎหมายด้านความปลอดภัยในการทำงาน ได้แก่ กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่นและหม้อน้ำ พ.ศ. 2552 ได้กำหนดให้นายจ้าง

บริการ inhouse public training

ไม่พลาดโปรโมชั่นพิเศษก่อนใคร




ไม่พลาดโปรโมชั่นพิเศษก่อนใคร




ตัวอย่างลูกค้าเพียงบางส่วนของเรา



บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
ติดต่อสอบถามคลิกไลน์ Safety In Thai ติดต่อสอบถามคลิกไลน์ Safety In Thai ติดต่อสอบถามคลิกไลน์ Safety In Thai