อบรมที่อับอากาศ 4ผู้ ทบทวนที่อับอากาศ เริ่มต้นเพียง 2200 - เซฟตี้อินไทย
อบรมหลักสูตรฟรี สำหรับสมาชิก          คลิกที่นี่
อบรม ที่อับอากาศ ราคา

อบรมที่อับอากาศ ปลอดภัย มั่นใจ ได้มาตรฐาน

กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานในที่อับอากาศ พ.ศ.2562 ข้อ 20 กำหนดให้นายจ้างจัดให้มีการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศแก่ลูกจ้างทุกคนที่ทำงานในที่อับอากาศ รวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องให้มีความรู้ความเข้าใจในทักษะที่จำเป็นในการทำงานอย่างปลอดภัยตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย พร้อมทั้งวิธีการและขั้นตอนในการปฏิบัติงานตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และหลักสูตรที่อธิบดีประกาศกำหนด

***หากท่านต้องการอบรม หลักสูตรผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ (รวมทุกหลักสูตร 4 ผู้)

และยังไม่มีใบเซอร์ดับเพลิงขั้นต้น เรายินดีอบรมดับเพลิงขั้นต้นให้ท่านฟรี


- ผู้เข้ารับการฝึกอบรมต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้

  • (๑) มีอายุไม่ต่ำกว่าสิบแปดปีบริบูรณ์
  • (๒) มีใบรับรองแพทย์ว่าเป็นผู้มีสุขภาพสมบูรณ์ ร่างกายแข็งแรง ไม่เป็นโรค เกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรคหัวใจ หรือโรคอื่นซึ่งแพทย์เห็นว่าการเข้าไปในที่อับอากาศอาจเป็นอันตรายต่อผู้เข้า รับการฝึกอบรม
  • (๓) ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการดับเพลิงขั้นต้น
เซฟตี้อินไทยทฤษฎีแน่นๆปฎิบัติเน้นๆ

ได้รับใบเซอร์ (Certificate) หลังผ่านการทดสอบ

อบรมที่อับอากาศ ชลบุรี

ทุกรอยยิ้มแห่งความประทับใจ อบรมอับอากาศ 4 ผู้ กับเซฟตี้อินไทย ที่ศูนย์ฝึกอับอากาศ ชลบุรี

หลักสูตรนี้ถูกออกแบบมาเพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการทำงานในพื้นที่อับอากาศ (Confined Space) มีความเข้าใจและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัย ตามมาตรฐานความปลอดภัยที่กำหนด

อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ

อบรม ทบทวนการทํางานในที่อับอากาศ กับเซฟตี้อินไทย

อบรมดับเพลิงและความปลอดภัย ถึงสถานที่ของคุณ! ไม่ต้องเดินทาง เรานําหลักสูตรอบรมมาตรฐาน มาถึงองค์กรของคุณโดยตรงพร้อมทีมวิทยากรมืออาชีพ ที่มีประสบการณ์จริงในการป้องกันและระงับเหตุเพลิงไหม้

อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ

อบรม ผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ กับเซฟตี้อินไทย

อบรมดับเพลิงและความปลอดภัย ถึงสถานที่ของคุณ! ไม่ต้องเดินทาง เรานำหลักสูตรอบรมมาตรฐานมาถึงองค์กรของคุณโดยตรง พร้อมทีมวิทยากรมืออาชีพ ที่มีประสบการณ์จริงในการป้องกันและระงับเหตุเพลิงไหม้

อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ
อบรมที่อับอากาศ

สิ่งที่ต้องเตรียมมาในวันอบรม

check

เอกสารหักภาษี ณ ที่จ่าย 3%

ฉบับจริง (ถ้ามี)

check

บัตรประชาชน/ใบขับขี่

( เพื่อตรวจสอบรายชื่อ )

check

โทรศัพท์มือถือ

เพื่อทำข้อสอบออนไลน์ ผ่าน www.topprobooking.com

*หมายเหตุ พัก Coffee Break เวลา 10:30 น. - 10:45 น. (ช่วงเช้า) และ เวลา 14:30 น. - 14:45 น. (ช่วงบ่าย)
รายละเอียดและกำหนดการดังกล่าว สามารถยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสมโดยการบรรยาย การถ่ายทอด
และแลกเปลี่ยนประสบการณ์จากวิทยากร โดยไม่กระทบต่อเนื้อหาสำคัญในหลักสูตรตามวัตถุประสงค์

การอบรมของท่าน เป็นไปอย่างราบรื่นและอิ่มเอม


เพื่อให้การอบรมของท่านเป็นไปอย่างราบรื่นและอิ่มเอม เรายินดีบริการอาหารกลางวันและอาหารว่าง สำหรับผู้เข้าร่วมอบรมทุกท่านที่เข้าร่วมการอบรมรูปแบบ Public Training


อาหาร
อาหาร
อาหาร
อาหาร
อาหาร
อาหาร
อาหาร
อาหาร

คุณหาหลักสูตรที่ต้องการไม่พบ หรือต้องการให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ ใช่หรือไม่ ?

ฝากข้อมูล
เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ

มากกว่า 100 ครั้งในการจัดอบรมที่อับอากาศ การันตรีได้ถึงมาตรฐาน และความประทับใจ

เซฟตี้อินไทย มุ่งเน้นการให้บริการด้วยความเอาใจใส่และเป็นกันเอง เราให้ความสำคัญกับการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่ผ่อนคลายและมีส่วนร่วม เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมรู้สึกประทับใจและได้รับประโยชน์สูงสุดจากการอบรม

ที่อับอากาศ (4ผู้)

1 เมษายน 2568
ชลบุรี
ที่อับอากาศ (4ผู้)

1 เมษายน 2568
สมุทรปราการ
ที่อับอากาศ 4 ผู้ อ.จิรเมธ

28 มีนาคม 2568
ชลบุรี
ที่อับอากาศ 4 ผู้ อ.วิทยา

28 มีนาคม 2568
ชลบุรี

ความรู้อบรมที่อับอากาศ
ที่คุณไม่ควรพลาด

การทำงานในที่อับอากาศมีความเสี่ยงสูง แต่สามารถป้องกันและลดอันตรายได้ หากมีความรู้พื้นฐานที่ถูกต้อง มาทำความเข้าใจวิธีปฏิบัติที่ปลอดภัย เพื่อป้องกันอุบัติเหตุและดูแลตัวเองรวมถึงเพื่อนร่วมงานกันเถอะ

อบรมที่อับอากาศ 2565 อบรมที่อับอากาศ ภาษาอังกฤษ ศูนย์ฝึกอบรมที่อับอากาศ อบรมที่อับอากาศ 2564 อบรม ที่อับอากาศ ออนไลน์ อบรม ที่อับอากาศ ฟรีคู่มือความปลอดภัยที่อับอากาศ2565 คู่มือความปลอดภัยที่อับอากาศ คู่มือ การ ทํา งานในที่อับอากาศ

คู่มือความปลอดภัยในที่อับอากาศ2565

คู่มือ ความปลอดภัย ในที่อับอากาศ 2565เพื่อป้องกัน อันตราย จากการทำงาน ในที่ อับกาศการทำงานในที่อับอากาศอย่างปลอดภัย           การทำงานในที่อับอากาศอย่างปลอดภัย สามารถทำได้อย่างไร ก่อนอื่น เซฟตี้อินไทย จะขออธิบายให้ท่านได้ทราบก่อนว่า ที่อับอากาศ คืออะไร ที่อับอากาศ คือ "ที่อับอากาศ (Confined Space) หมายความว่า ที่ซึ่งมีทางเข้าออกจำกัดหรือไม่ได้ออกแบบไว้สำหรับเป็นสถานที่ทำงานอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ และ มีสภาพอันตราย หรือ มีบรรยากาศอันตราย เช่น อุโมงค์ ถ้ำ บ่อ หลุม ห้องใต้ดิน ห้องนิรภัย ถังน้ำมัน ถังหมัก ถัง ไซโล ท่อ เตา ภาชนะ หรือสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายกัน" อ้างอิงจากกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับ ที่อับอากาศ พ.ศ. 2562 (สรุปกฎกระทรวงเกี่ยวกับที่อับอากาศ)1ต 2ป 3อ เพื่อป้องกัน อันตราย จากการทำงาน ในที่อับอากาศ 1ต คือ 1 ตรวจสอบ           ตรวจสอบ ประเมิน สภาพอันตราย ตรวจวัด สภาพอากาศ (ก๊าซพิษ ก๊าซไวไฟ ปริมาณออกซิเจน) ก่อนอนุญาตให้ ลูกจ้างเข้าไปทำงานใน ที่อับอากาศ และ ระหว่างการทำงานเป็นระยะ           หากพบสภาพที่เป็น อันตราย ในที่อับอากาศ นำลูกจ้าง ออกจาก ที่อับอากาศ ดำเนินการ เพื่อลด สภาพ อันตราย2ป คือ 1 ป้ายเตือน          จัดทำป้ายเตือน "ที่อับอากาศ อันตราย ห้ามเข้า" ติดไว้หน้าทาง เข้า-ออก ที่อับอากาศ2ปิดกั้น          จัดให้มีสิ่ง ปิดกั้น เพื่อ ป้องกัน การเข้าไป /ตกลงไปใน ที่อับอากาศ / ป้องกันสิ่งที่ เป็นอันตราย เช่น สารเคมี พลังงาน เข้าสู่ที่อับอากาศ ขณะลูกจ้างปฏิบัติงาน3อ คือ 1 อนุญาต          มีระบบ การอนุญาต ให้ลูกจ้างทำงานใน ที่อับอากาศ ทุกครั้งระบุรายละเอียดดังนี้สถานที่วัน เวลา ทำงานลักษณะงานชื่อลูกจ้างที่ทำงานผู้ควบคุมงานผู้ช่วยเหลือผลการประเมินสภาพและบรรยากาศอันตรายมาตรการความปลอดภัยผลตรวจสุขภาพลงลายมือ ชื่อผู้ขออนุญาต และผู้อนุญาต2 อุปกรณ์         อุปกรณ์ คุ้มครอง ความปลอดภัย ส่วนบุคคล อุปกรณ์ ช่วยเหลือ และช่วยชีวิต อุปกรณ์ดับเพลิง อุปกรณ์ ไฟฟ้า ที่เหมาะสมกับการใช้งานใน ที่อับอากาศนายจ้างต้องจัด อุปกรณ์ ให้ครบถ้วน เหมาะสมกับลักษณะงาน ควบคุมให้ลูกจ้าง / ผู้ช่วยเหลือ สวมใส่ PPE ก่อนทำงาน3 อบรม        ผู้ที่ทำงานใน ที่อับอากาศ / ผู้ที่เกี่ยวข้อง (ผู้มีหน้าที่อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ) ต้องได้รับการ อบรมความปลอดภัยฯใน ที่อับอากาศ (อบรมในที่อับอากาศ) ตามกฎหมาย        โดยทาง เซฟตี้อินไทย ได้มีการจัดอบรม การทำงานใน ที่อับอากาศ ตามกฎหมาย โดย วิทยากร ที่มีความสามารถ มีความชำนาญ เมื่อท่านมา อบรม กับเราท่านจะได้รับ ใบประกาศวุฒิบัตร ผ่านนการอบรม

สรุปสาระกฎกระทรวง,สรุปกฎกระทรวงที่อับอากาศ2564, อบรมที่อับอากาศ 2565, ใบเซอร์ที่อับอากาศ,อบรม ที่อับอากาศ ออนไลน์,กฎหมายอับอากาศ 2564 pdf,กฎหมายที่อับอากาศ 2564,กฎหมาย ที่อับอากาศ ล่าสุด,กฎหมายที่อับอากาศ 2562,ที่อับอากาศเซฟตี้

สรุปสาระสำคัญหลักเกณฑ์วิธีการและหลักสูตรการฝึกอบรมในการทำงานในที่อับอากาศ

สรุปสาระสำคัญหลักเกณฑ์วิธีการและหลักสูตรการฝึกอบรมในการทำงานในที่อับอากาศสรุปสาระสำคัญประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 11 มีนาคม 2564- นายจ้างจัดให้มีการฝึกอบรมเองได้กรณีที่นายจ้างไม่สามารถจัดได้ให้นายจ้างจัดให้มีการฝึกอบรมกับ           นิติบุคคลที่ได้รับ อนุญาตตามมาตรา 11- ต้องแจ้งกำหนดการฝึกอบรมไม่น้อยกว่า 7 วันทำการก่อนการฝึกอบรม และจัดทำรายงานผลการฝึก           อบรม ตามแบบ รายงานที่แนบท้ายประกาศภายใน 30 วันที่เสร็จสิ้นการฝึกอบรม- การออกหลักฐานแสดงการผ่านการฝึกอบรมให้แก่ผู้ผ่านการฝึกอบรม โดยมีรายละเอียด ชื่อหน่วยงานที่     ออกหลักฐาน แสดงการผ่านการฝึกอบรม พร้อมระบุข้อความว่า “จัดฝึกอบรมโดยนายจ้าง” หรือ “จัดฝึก     อบรมโดยนิติบุคคล ได้รับอนุญาตตามมาตรา 11 ใบอนุญาตเลขที่ อ.XX-XXX- มีใบรับรองแพทย์ว่าเป็นผู้มีสุขภาพสมบูรณ์ ร่างกายแข็งแรง ไม่เป็นโรคเกี่ยวกับทาง เดินหายใจ โรหัวใจ       หรือโรคอื่น ที่แพทย์เห็นว่าการเข้าไปในที่อับอากาศอาจเป็นอันตรายต่อผู้เข้ารับการฝึกอบรม- ผู้เข้ารับการฝึกอบรมอับอากาศทุกหลักสูตร ต้องเป็นผู้ผ่านการฝึกอบรมการดับเพลิงขั้นต้นตามกฎหมาย- ผู้ผ่านการฝึกอบรมก่อนประกาศฉบับนี้มาแล้วตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป จะต้องเข้ารับการอบรมทบทวนให้แล้เสร็จ     ภายใน 90 วันนับแต่วันประกาศนี้มีผลบังคับใช้- วิทยากรได้รับการฝึกอบรมหรือเพิ่มเติมความรู้ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการทำงานไม่น้อยกว่า 6       ชม./ปี- การอบรมทบทวนการทำงานในที่อับอากาศอย่างน้อย 3 ชม. (ภาคทฤษฎี) ทุก 5 ปีนับแต่วันสุดท้ายของ       การอบรม ให้ แล้วเสร็จภายใน 30 วันก่อนครบกำหนด 5 ปี หากมิได้ดำเนินการนายจ้างต้องจัดให้มีการ       อบรมแต่ละหลักสูตรใหม่ แล้วแต่กรณี- วิทยากรได้รับการฝึกอบรมหรือเพิ่มเติมความรู้ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการทำงานไม่น้อยกว่า 6       ชม./ปี- ผู้ผ่านการฝึกอบรมในหลักสูตรการเป็นวิทยากรเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศที่กรม     สวัสดิการ และคุ้มครองแรงงานยอมรับ ก่อนวันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ ให้ถือว่าผู้นั้นมีคุณสมบัติเป็น         วิทยากรตามข้อ 16 ของ ประกาศนี้

อบรม ที่อับอากาศ ออนไลน์ อบรมที่อับอากาศ ภาษาอังกฤษ อบรมที่อับอากาศ 2564 อบรมที่อับอากาศ 2565 อบรม ที่อับอากาศ ปทุมธานี อบรมที่อับอากาศ 4 ผู้ ระยอง อบรม ที่อับอากาศ ฟรี

การทำงานในที่อับอากาศอย่างปลอดภัย 2564-2565

การทำงานในที่อับอากาศอย่างปลอดภัยการทำงานในที่อับอากาศอย่างปลอดภัย          การทำงานในที่อับอากาศอย่างปลอดภัย สามารถทำได้อย่างไร ก่อนอื่น เซฟตี้อินไทย จะขออธิบายให้ท่านได้ทราบก่อนว่า ที่อับอากาศ คืออะไร ที่อับอากาศ คือ "ที่อับอากาศ (Confined Space) หมายความว่า ที่ซึ่งมีทางเข้าออกจำกัดหรือไม่ได้ออกแบบไว้สำหรับเป็นสถานที่ทำงานอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ และ มีสภาพอันตราย หรือ มีบรรยากาศอันตราย เช่น อุโมงค์ ถ้ำ บ่อ หลุม ห้องใต้ดิน ห้องนิรภัย ถังน้ำมัน ถังหมัก ถัง ไซโล ท่อ เตา ภาชนะ หรือสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายกัน" อ้างอิงจากกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับที่อับอากาศ พ.ศ. 2562มาตรการป้องกันอันตรายมาตรการป้องกันอันตราย ที่อับอากาศ- จัดทำป้าย “ที่อับอากาศ อันตราย ห้ามเข้า”- ติดหน้าทางเข้า-ออก และต้องขออนุญาตก่อนเข้าทำงานทุกครั้ง- ตรวจสอบก๊าซพิษ ก๊าซติดไฟและปริมาณก๊าซออกซิเจนต้องอยู่ระหว่าง 19.5 – 23.5- ต้องมีผู้ควบคุม และมีผู้ช่วยเหลืออยู่ประจำบริเวณทางเข้า-ทางออก ตลอดเวลาที่มีการทำงาน- จัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล Personal Protective Equipment (PPE) อุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิตที่เหมาะสม สนใจ อบรมที่อับกาศ หรือสมัครสมาชิกเพื่อได้เข้ารับการอบรมในราคาที่ถูกกว่าสถานที่ ที่อับอากาศสถานที่อับอากาศสถานที่อับอากาศ คือ มีขนาดเพียงพอที่คนสามารถเข้าไปได้สถานที่อับอากาศ คือ มีทางเข้า-ทางออกขนาดจำกัดสถานที่อับอากาศ คือ พื้นที่ทางเข้า-ออก อยู่ไกล จากจุดปฏิบัติงานหรือมีขนาดเล็กสถานที่อับอากาศ คือ ไม่ได้ออกแบบมาให้เพื่อปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องบทบาทของผู้เกี่ยวข้องกับการทำงาน ที่อับอากาศผู้อนุญาต ที่อับอากาศประเมินความเป็นอันตรายในพื้นที่ ออกหนังสืออนุญาตการทำงานอนุมัติให้มีการทำงานในที่อับอากาศ วางแผนปฏิบัติงานตรวจสอบพื้นที่ ที่อับอากาศ ก่อน และระหว่างปฏิบัติงานผู้ควบคุมงานผู้ควบคุมงานใน ที่อับอากาศ เป็นผู้ที่วางแผนการทำงานและการป้องกันอันตราย คอยควบคุมดูแลผู้ปฏิบัติงาน ชี้แจงหน้าที่ วิธีทำงานในที่อับอากาศการป้องกันอันตราย สั่งหยุดงานชั่วคราวได้ หากพบว่าเกิดความไม่ปลอดภัยผู้ปฏิบัติงานตัวผู้ปฏิบัติงานใน ที่อับอากาศ ต้องตระหนักถึงความปลอดภัยในการทำงาน แจ้งอันตรายเมื่อรู้สึกว่าเริ่มไม่ปลอดภัย หรือเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน และต้องสวมอุปกรณ์ PPE ตลอดระยะเวลาปฏิบัติงานผู้ช่วยเหลือในส่วนของผู้ช่วยเหลือใน ที่อับอากาศ นั้น ต้องคอยให้ความช่วยเหลือผู้ปฏิบัติงานใน ที่อับอากาศ หากเกิดเหตุฉุกเฉินไม่ให้ผู้ไม่เกี่ยวข้องเข้าพื้นที่ ตรวจสอบรายชื่อและจำนวนผู้เข้าปฏิบัติงาน ตรวจสอบอุปกรณ์ช่วยชีวิตให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอนายจ้างนายจ้างจัดทำป้าย "ที่อับอากาศ อันตราย ห้ามเข้า" ติดทางเข้าออกของที่อับอากาศ

การทำงานในที่อับอากาศอย่างปลอดภัย

การทำงานในที่อับอากาศอย่างปลอดภัยคำจำกัดความพื้นที่อับอากาศ (Confined Spaces) หมายถึง สถานที่ทำงานที่มีทางเข้าออกจำกัด มีการระบายอากาศตามธรรมชาติ ไม่เพียงพอที่จะทำให้อากาศ ภายในอยู่ในสภาพถูกสุขลักษณะ และปลอดภัยซึ่งอาจเป็นที่สะสมของสารเคมีเป็น พิษ สารไวไฟ รวมทั้งออกซิเจนไม่เพียงพอ เช่นถังน้ำมัน ถังหมัก ไซโล ท่อ ถัง ถ้ำ บ่อ อุโมงค์ เตา ห้องใต้ดิน ภาชนะ หรือสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายกันนี้สถานที่อับอากาศ1. มีขนาดเพียงพอที่คนสามารถเข้าไปได้2. มีทางเข้า-ทางออกขนาดจำกัด3. พื้นที่ที่ทางเข้า-ทางออกอยู่ไกลจากจัดปฏิบัติงานหรือมีขนาดเล็ก4. ไม่ได้ออกแบบมาให้เพื่อปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องมาตรการป้องกันอันตราย- จัดทำป้าย "ที่อับอากาศ อันตราย ห้ามเข้า"ติดหน้าทางเข้า-ออก และต้องขออนุญาตก่อนเข้าทำงานทุกครั้ง- ตรวจสอบก๊าซพิษ ก๊าซติดไฟและปริมาณก๊าซออกซิเจนต้องอยู่ระหว่าง 19.5 - 23.5- ต้องมีผู้ควบคุม และมีผู้ช่วยเหลืออยู่ประจำบริเวณทางเข้า-ทางออก ตลอดเวลาที่มีการทำงาน- จัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล Personal Protective Equipment (PPE) อุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิตที่เหมาะสม บทบาทของผู้ที่เกี่ยวข้องผู้อนุญาตประเมินความอันตรายในพื้นที่ ออกหนังสืออนุญาตทำงาน อนุมัติให้มีการทำงานในที่อับอากาศวางแผนปฏิบัติงาน ตรวจสอบพื้นที่ก่อนและระหว่างปฏิบัติงานผู้ควบคุมงานวางแผนการทำงานและการป้องกันอันตราย ควบคุมดูแลผู้ปฏิบัติงาน ชี้แจงหน้าที่ วิธีทำงานการป้องกันอันตราย สั่งหยุดงานชั่วคราวได้ผู้ปฏิบัติงานตระหนักถึงความปลอดภัยในการทำงานแจ้งอันตราย เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินสวมอุปกรณ์ PPEตลอดระยะเวลาปฏิบัติงานผู้ช่วยเหลือให้ความช่วยเหลือผู้ปฏิบัติงาน หากเกิดเหตุฉุกเฉินไม่ให้ผู้ไม่เกี่ยวข้องเข้าพื้นที่ ตรวจสอบรายชื่อและจำนวนผู้เข้าปฏิบัติงาน ตรวจสอบอุปกรณ์ช่วยชีวิตให้พร้อมใช้งาน

ตัวอย่างลูกค้าเพียงบางส่วน
ที่ใช้บริการกับเซฟตี้อินไทย

01-BOSCH 02-KMCT 03-CASTEM 04-ExoticFood 05-TMOT 06-PCG 07-NPS 08-BEM 09-ANDRITZ 10-NSSPT 11-DAIKIN 12-BGF 13-OR 14-BOSCH 15-Niterra 16-EMERSON 17-AMTA-SPRING 18-akebono 19-TBGO 20-RICOH 21-KERRY 22-PEA 23-UCARE 24-sumitomo-electric 25-LOTTE 26-STEP 27-PANDORA 28-ITDP 29-SAMSUNG 30-FUJITRANS 31-TAKAHATA 32-AGC 33-HomePro 34-TOYODA 35-Johnson 36-TMOT 37-AO 38-NH 39-KATOEM 40-LAT 41-KOBELCO 42-KYB 43-ALBATROSS 44-KGK 45-TS 46-MISUBISHI 47-Jaroonsing 48-YUASA 49-MISUBISHI 50-EMERSON 51-PURE 52-BELZONA 53-CCP 54-ESCO 55-Nitto 56-BGC 57-elleair 58-BEM 59-LAEM 60-Canadian 61-CRAZY 62-THEMALL 63-BECC 64-JATCO 65-KUBOTA 66-AJ 67-TUKCOM 68-AMATA 69-MITR-PHOL 70-Fuji 71-KIKUWA 72-SANKYU 73-YOKOHAMA 74-JATCO 75-SHOWA 76-CENTRAL 77-HAIER 78-HTT 79-AGT 80-HONDA 81-SAMSUNG 82-FUJITSU 83-HUAWEI 84-YAMAHA 85-PEA 86-VOLVO 87-CANON 88-BRIDGE 89-jelly 90-Crane 91-TANARE

ติดตามเซฟตี้อินไทย
ได้ทุกช่องทางที่คุณสะดวก

ติดต่อสอบถามคลิกไลน์ Safety In Thai ติดต่อสอบถามคลิกไลน์ Safety In Thai ติดต่อสอบถามคลิกไลน์ Safety In Thai