กิจกรรมการค้นหาอันตรายในการทำงาน ด้วย CCCF

กิจกรรมการค้นหาอันตรายในการทำงาน ด้วย CCCF ในปัจจุบันพบว่า อุบัติเหตุที่เกิดจากการทำงานนั้นมีอัตราที่สูงขึ้น ซึ่งสาเหตุที่เกิดนั้นมีหลายประการ ผู้ประกอบการหรือเจ้าของโรงงานอุตสาหกรรมจะต้องปฏิบัติอย่างไรหรือมีนโยบายที่ชัดเจนอย่างไรในการลดอุบัติเหตุอันเกิดจากการทำงานในสถานประกอบการ และให้ความเชื่อมั่นความปลอดภัยในการทำงานแก่คนงาน การทำงานที่มีความปลอดภัยคือสภาพที่ไม่มีภยันตราย ดังนั้นความปลอดภัยในการทำงานจึงหมายถึงการทำงานที่ปราศจากอันตราย ไม่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ กล่าวคือ ไม่ก่อให้เกิดสิ่งต่าง ๆ ได้แก่ การเจ็บป่วย หรือเป็นโรค การบาดเจ็บ พิการ หรือตาย ทรัพย์สินเสียหาย เสียเวลา ขบวนการผลิตหยุดชะงัก คนงานเสียขวัญและกำลังใจในการทำงาน กิจการเสียชื่อเสียง ซึ่งทั้งหมดนี้ล้วนแต่เป็นผลเสียทั้งสิ้น การกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศ ก็ได้ยกเอาประเด็นเรื่องความปลอดภัยในการทำงานมาเป็นเครื่องมือพิจารณาในการค้าขายระหว่างประเทศ
เนื่องจากความปลอดภัยในการทำงานนั้นเป็นปัจจัยพื้นฐานในการเพิ่มผลผลิตที่มีคุณภาพ รัฐบาลจึงสนับสนุนส่งเสริมให้ผู้ประกอบการ เสริมสร้างประสิทธิภาพการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ โดยเน้นให้สถานประกอบการคำนึงถึงความปลอดภัยในการทำงาน ได้มีการออกระเบียบโดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์การชี้บ่งอันตราย การประเมินความเสี่ยง และการจัดทำแผนงานบริหารความเสี่ยง พ.ศ.2543 ขึ้น เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการโรงงาน หรือผู้ขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน หรือใบอนุญาตขยายโรงงาน ต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ความเสี่ยงจากอันตรายที่อาจเกิดจากการประกอบกิจการโรงงาน โดยต้องทำการศึกษา วิเคราะห์ และทบทวนการดำเนินงานเพื่อชี้บ่งอันตราย ประเมินความเสี่ยง และจัดทำแผนงานการจัดการความเสี่ยง
.jpg)

วิทยากรได้รับการขึ้นทะเบียนจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

เน้นทำ Workshop ให้ได้ลงมือทำจริงในห้องเรียน บรรยากาศการเรียนที่เป็นกันเอง

เมื่อมาอบรมกับเราท่านจะได้รับ
ใบประกาศวุฒิบัตรผ่านการอบรม
กิจกรรมการค้นหาอันตรายในการทำงาน ด้วย CCCF
ท่านสามารถค้นหาหลักสูตรกิจกรรมการค้นหาอันตรายในการทำงาน ด้วย CCCF

หลักการและเหตุผล
กิจกรรม CCCF (Completely Check Completely Find-Out) เป็นกิจกรรมที่เน้น
ให้องค์กรหรือสถานประกอบกิจการค้นหาเหตุการณ์ผิดปกติหรือเหตุการณ์ หรือเหตุการณ์เฉียด (Near Miss)
เพื่อวิเคราะห์และกำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไข
ที่อาจนำไปสู่การเกิดอุบัติเหตุในการทำงานกิจกรรมการค้นหาจุด
อันตรายและการจัดการกับจุดอันตราย
ทำให้องค์กรหรือสถานประกอบกิจการสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้เพื่อลดและ
ควบคุมอุบัติเหตุในการทำงานกิจกรรม CCCF
เป็นกิจกรรมที่ต้องการให้พนักงานทุกคนทุกระดับมีส่วนร่วมในการ
ค้นหาอันตรายในพื้นที่ ปฏิบัติงานของตนเอง หรือวิธีการปฏิบัติงานที่อาจมีความเสี่ยง
โดยช่วยกันทำการค้นหา
อันตราย โดยใช้หลัก "Genchi - Genbutsu" หรือที่แปลว่า "ของจริง สถานะที่จริง" หรือ
การเข้าไปเฝ้าสังเกตที่หน้า
งานจริง และช่วยกันปรับปรุงแก้ไขให้อันตรายเหล่านั้นหมดไป
วัตถุประสงค์
1) เพื่อให้ผู้อบรมสร้างวัฒนธรรมด้านความปลอดภัยจากการป้องกันอันตรายก่อนเกิดอุบัติเหตุ
2) เพื่อให้ผู้อบรมมีความรู้ ความเข้าใจและทราบถึงแนวทางการค้นหาเหตุการณ์ผิดปกติ
3) เพื่อให้ผู้อบรมมีความรู้และนำหลักการไปตรวจสถานที่ ทั้งหมดทุกจุดทุกพื้นที่ในองค์กร
4) เพื่อให้ผู้อบรมมีทักษะการสร้างจิตสำนึกด้านความปลอดภัยและวิเคราะห์ปัญหาในสถานที่ทำงานจริ
ข้อมูลที่เป็นประโยชน์
สิ่งที่ต้องเตรียมมาในวันที่อบรม

1. เอกสารหักภาษี ณ ที่จ่าย 3%
( ฉบับจริง )

2. บัตรประชาชน/ใบขับขี่
( เพื่อตรวจสอบรายชื่อ )

3. โทรศัพท์มือถือ
( เพื่อทำข้อสอบแบบออนไลน์ )
สิ่งที่ได้รับหลังผ่านการอบรม

เมื่อมาอบรมกับเราท่านจะได้รับ
ใบประกาศวุฒิบัตรผ่านการอบรม
หรือใบเซอร์
อย่างเป็นทางการ 1 ฉบับ/ท่าน

กิจกรรมการค้นหาอันตรายในการทำงาน ด้วย CCCF
กิจกรรม CCCF (Completely Check Completely Find-Out) เป็นกิจกรรมที่เน้น ให้องค์กรหรือสถานประกอบกิจการค้นหาเหตุการณ์ผิดปกติหรือเหตุการณ์ หรือเหตุการณ์เฉียด (Near Miss) เพื่อวิเคราะห์และกำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไข ที่อาจนำไปสู่การเกิดอุบัติเหตุในการทำงานกิจกรรมการค้นหาจุด อันตรายและการจัดการกับจุดอันตราย
เรามีบริการอาหารกลางวันและขนมเบรคให้ผู้เข้าอบรม
เฉพาะผู้ที่เข้ารับการอบรมในรูปแบบ Public Training
บริการดี อาหารอร่อย เมนูอาหารหลากหลาย กับบรรยากาศที่ดูสบายตาเหมือนได้มาพักผ่อน
พร้อมเจ้าหน้าที่
ยินดีให้บริการตลอดรับบริการให้เช่าสถานที่ อบรม-สัมมนา ประชุม, งานมงคล อื่นๆ









ไม่พลาดโปรโมชั่นพิเศษก่อนใคร สมัครรับข่าวสารฟรี!
ไม่พลาดโปรโมชั่นพิเศษก่อนใคร สมัครรับข่าวสารฟรี!
ตัวอย่างลูกค้าเพียงบางส่วนของเรา
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)
.jpg)