การปลูกฝังพฤติกรรมด้านความปลอดภัย-เซฟตี้อินไทย
อบรมหลักสูตรฟรี 2567          คลิกที่นี่
การปลูกฝังพฤติกรรมด้านความปลอดภัย

การปลูกฝังพฤติกรรมด้านความปลอดภัย (BBS Behavior Based Safety)




การปลูกฝังพฤติกรรมด้านความปลอดภัย การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย และการจัดการพฤติกรรมเสี่ยง เริ่มจากการตกลงร่วมกันว่าเราจะห่วงใย ดูแลซึ่งกันและกัน ไม่อยากให้ใครบาดเจ็บ เจ็บป่วย ทำกิจกรรมสังเกตุพฤติกรรมความปลอดภัย โดยการเข้า ทัก ชม เตือน ด้วยถ้อยคำ จังหวะเวลา ความถี่อย่างเหมาะสม เพื่อควบคุมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความปลอดภัย ซึ่งต้องมีหลักการสังเกตุสำหรับตัดสินใจเข้าแสดงความห่วงใยอย่างถูกต้องเหมาะสมกับพฤติกรรมแต่ละครั้ง มีการวัดผลจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัย และการคงพฤติกรรมที่ปลอดภัย กรณีที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัยของบางคนได้ การปลูกฝังพฤติกรรมความปลอดภัย, Behavior-based safety (BBS)



เป็นอีกหนึ่งเทคนิคที่เป็นที่ยอมรับ อย่างกว้างขวางว่าสามารถลดการเกิดอุบัติเหตุ การได้รับบาดเจ็บได้จริง และช่วยส่งผลต่อการสร้างวัฒนธรรม ความปลอดภัยในองค์กร เมื่อพนักงานทุกคนเข้าใจหลักการและนําไป BBS ไปปฏิบัติอย่างจริงจัง BBS อาศัยหลักการทางจิตวิทยา และวิทยาศาสตร์ในการส่งเสริมพฤติกรรมที่นําไปสู่ความปลอดภัย

วิทยากรได้รับการขึ้นทะเบียนจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

เน้นทำ Workshop ให้ได้ลงมือทำจริงในห้องเรียน บรรยากาศการเรียนที่เป็นกันเอง

เมื่อมาอบรมกับเราท่านจะได้รับ
ใบประกาศวุฒิบัตรผ่านการอบรม

การปลูกฝังพฤติกรรมด้านความปลอดภัย
(BBS Behavior Based Safety)


ท่านสามารถค้นหาหลักสูตรการปลูกฝังพฤติกรรมด้านความปลอดภัย (BBS Behavior Based Safety)


หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล


การสร้างพฤติกรรมความปลอดภัย Behavior-Based Safety (BBS) เป็นเทคนิคที่สามารถลดการเกิดอุบัติเหตุ การได้รับบาดเจ็บได้เป็นอย่างดี และช่วยส่งผลต่อการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กร เมื่อพนักงานทุกคนเข้าใจ หลักการของ BBS โดยอาศัยหลักการทางจิตวิทยาในการส่งเสริมพฤติกรรมที่นําไปสู่ความปลอดภัย BBS คือกระบวนการ ในการวิเคราะห์ค้นหาและคัดเลือกพฤติกรรมเสี่ยงแล้วดําเนินการกําจัดออกไป BBS จึงเป็นการแก้ไขที่พื้นฐานของการเกิด อุบัติเหตุ “พฤติกรรมเสี่ยง” พฤติกรรมเป็นสิ่งที่สังเกตได้และวัดได้ ความปลอดภัยจากการทํางานเกิดจากตัวคน สภาพแวดล้อม พฤติกรรมคน ดังนั้นการทําให้ BBS ประสบความสําเร็จผู้ที่รับผิดชอบจําเป็นต้องเข้าใจอย่างถ่องแท้ เสียก่อน การนํา BBS มาใช้ในองค์กรเพื่อประสิทธิภาพในการจัดการและบริหารองค์กรด้านความปลอดภัยในการทํางาน ต่อไป

วัตถุประสงค์
1. ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ และทราบถึงพฤติกรรมเสี่ยงอันตรายของพนักงาน
2. ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความเข้าใจในการความรู้เพื่อปรับเป็นพฤติกรรมเชิงบวกในการทํางานอย่างปลอดภัย
3. ผู้เข้ารับการอบรมสามารถฝึกการสังเกตพฤติกรรมเสี่ยงตามหลักการของ BBs ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เนื้อหาการอบรม
1. ความสําคัญของวัฒนธรรมความปลอดภัย
2. ความหมายของพฤติกรรมเสี่ยงและBBS
3. ทัศนคติและพฤติกรรมความปลอดภัย
4. การใช้พฤติกรรมเชิงบวกในการเปลี่ยนพฤติกรรมการทํางาน
5. ฝึกการสังเกตพฤติกรรมเสี่ยง
6. การใช้ระบบพี่เลี้ยงเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง ตัดสินใจ, หยุด,สังเกต,กระทํา
7. workshop การทําทะเบียนพฤติกรรมเสี่ยง,การเลือกพฤติกรรมเสี่ยงสังเกต,วัตผลและการติดตาม

การปลูกฝังพฤติกรรมด้านความปลอดภัย



บทความด้านความปลอดภัยBBS-01
บทความด้านความปลอดภัยBBS-02
บทความด้านความปลอดภัยBBS-03
บทความด้านความปลอดภัยBBS-04

ข้อมูลที่เป็นประโยชน์



สิ่งที่ต้องเตรียมมาในวันที่อบรม



1. เอกสารหักภาษี ณ ที่จ่าย 3%

( ฉบับจริง )

2. บัตรประชาชน/ใบขับขี่

( เพื่อตรวจสอบรายชื่อ )

3. โทรศัพท์มือถือ

( เพื่อทำข้อสอบแบบออนไลน์ )

สิ่งที่ได้รับหลังผ่านการอบรม



เมื่อมาอบรมกับเราท่านจะได้รับ
ใบประกาศวุฒิบัตรผ่านการอบรม
หรือใบเซอร์ อย่างเป็นทางการ 1 ฉบับ/ท่าน

บัตรประจำตัวผู้ผ่านการอบรม



ทางศูนย์อบรมของเรามีบัตรประจำตัว
สำหรับผู้ที่ผ่านการทดสอบ
ชำระค่าบัตรเพียง 250 บาท/ท่าน

บรรยากาศการอบรม


บรรยากาศการอบรม เน้นทำ Workshop ให้ได้ลงมือทำจริง
ในห้องเรียน ในบรรยากาศการเรียนที่เป็นกันเอง เนื้อหาเข้มข้น
และสามารถนำไปใช้ได้จริงในการทำงาน



หลักสูตรยอดนิยม



หลักสูตรยอดนิยม



IN-HOUSE TRAINING

เราพร้อมให้คำปรึกษา
และมอบคำแนะนำหลักสูตรดีๆให้กับคุณ

โทร 033-166121

เรามีบริการอาหารกลางวันและขนมเบรคให้ผู้เข้าอบรม
เฉพาะผู้ที่เข้ารับการอบรมในรูปแบบ Public Training


บริการดี อาหารอร่อย เมนูอาหารหลากหลาย กับบรรยากาศที่ดูสบายตาเหมือนได้มาพักผ่อน
พร้อมเจ้าหน้าที่ ยินดีให้บริการตลอดรับบริการให้เช่าสถานที่ อบรม-สัมมนา ประชุม, งานมงคล อื่นๆ


อาหาร
อาหาร
อาหาร
อาหาร
อาหาร
อาหาร
อาหาร
อาหาร

บทความที่เกี่ยวข้อง


จปคืออะไร

จปคืออะไร สถานประกอบการ บริษัทต้องมีจป.อะไร ตามกฎกระทรวง2565

จป.คืออะไร คือ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานเป็นบุคลากรทางด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยที่กฎหมายกำ$

อยากเป็นจป.วิชาชีพ

อยากเป็นจป.วิชาชีพต้องทำอย่างไร ?

ตามที่ กฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานบุคลากร หน่วยงาน หรือคณะบุคคลเพื่อดำเนินการด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการพ.ศ. 2565เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพต้องมีคุณสมบัติเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้1.เค

หน้าที่จป.บริหาร 2565

หน้าที่จป.บริหารตามกฎกระทรวง 2565 มีอะไรบ้าง

ตามที่ กฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานบุคลากร หน่วยงาน หรือคณะบุคคลเพื่อดำเนินการด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการพ.ศ. 2565จป.บริหาร หรือ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับบริหาร คือ ลูกจ้างที่ นายจ้างแต่งตั้งให้ปฏิบัต

หน้าที่จป.เทคนิค2565

หน้าที่จป.เทคนิคตามกฎกระทรวง 2565 มีอะไรบ้าง

ตามที่ กฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานบุคลากร หน่วยงาน หรือคณะบุคคลเพื่อดำเนินการด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการพ.ศ. 2565"เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน" หมายความว่า ลูกจ้างซึ่งนายจ้างแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ เป็นเจ้า

หน้าที่จป.วิชาชีพ 2565

หน้าที่จป.วิชาชีพตามกฎกระทรวง 2565 มีอะไรบ้าง

ตามที่ กฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานบุคลากร หน่วยงาน หรือคณะบุคคลเพื่อดำเนินการด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการพ.ศ. 2565"เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน" หมายความว่า ลูกจ้างซึ่งนายจ้างแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ เป็นเจ้

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง การแจ้งการขึ้นทะเบียน การพ้นจากตำแหน่งหรือพ้นจากหน้าที่ของจป. และผู้บริหารหน่วยงานความปลอดภัย ล่าสุด

ประกาศ กสร เรื่อง การแจ้งการขึ้นทะเบียน การพ้นจากตำแหน่งหรือพ้นจากหน้าที่ของจป.

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเรื่อง การแจ้งการขึ้นทะเบียน การพ้นจากตำแหน่งหรือพ้นจากหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน และผู้บริหารหน่วยงานความปลอดภัย          โดยที่กฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน บุคลากร

อัปเดตกฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยพ.ศ. 2565,สรุปกฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยพ.ศ. 256,นายจ้างต้องรู้กฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน,นายจ้างต้องรู้ต้องทำกฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน,สรุป การจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย2565,สรุป การจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย2565-2566,หมวด1เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน,สรุปหมวด1เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน,สรุปหมวด1เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน2565,นายจ้างต้องทำอะไรบ้างในกฎกระทรวงการจัดให้เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน

นายจ้างต้องรู้นายจ้างต้องทำในกฎกระทรวงการจัดให้เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน

นายจ้างต้องรู้!สิ่งที่นายจ้างต้องทำในกฎกระทรวงเรื่อง การจัดให้เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน บุลากร หน่วยงาน หรือคณะบุคคลเพื่อดำเนินการด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการ พ.ศ.2565อัปเดตกฎกระทรวง หมวดที่ 1หมวด1เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน     

หน้าที่ จป.หัวหน้างาน 10 ข้อ,จป.หัวหน้างาน คุณสมบัติ,บทบาทหน้าจป.หัวหน้างาน,อบรมจปหัวหน้างาน,จป.หัวหน้างาน คุณสมบัติ,หน้าที่เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับหัวหน้างาน,หน้าที่จป.หัวหน้างานใหม่ล่าสุด,หน้าที่จป.หัวหน้างานตามกระทรวงล่าสุด

อัปเดตหน้าที่จปหัวหน้างานหรือเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับหัวหน้างานตามกฎกระทรวง65

อัปเดตหน้าที่จป.หัวหน้างานหรือเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับหัวหน้างานตามกฎกระทรวงล่าสุด2565อัปเดตหน้าที่จป.หัวหน้างานหรือเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับหัวหน้างานตามกฎกระทรวงล่าสุด 2565           ข้อ 9 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับหัวหน้างานมีหน

กฎกระทรวงราชกิจจานุเบกษา,กฎกระทรวงการจัดให้เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน2565,กฎกระทรวงการจัดให้เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานล่าสุด,ท้ายบัญชีกฎกระทรวงเพิ่มสถานประกอบกิจการเป็น64แห่ง,กฎกระทรวงจัดให้เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยดำเนินการด้านความปลอดภัยจาก 14 แห่งเพิ่มเป็น 64 แห่ง,อบรมจป.ตามกฎหมาย, สถานประกอบกิจการที่ต้องจัดให้มีการดำเนินการ2565, สถานประกอบกิจการที่ต้องจัดให้มีการดำเนินการเพิ่มเป็น64แห่ง

ไม่ใช่แค่โรงงานนะที่จะต้องมีจป.อัปเดตตามบัญชีท้ายกฎกระทรวง 2565

สถานประกอบกิจการใดบ้าง ที่ต้องจัดให้มีจป.หรือเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานอัปเดตตามบัญชีท้ายกฎกระทรวง 2565 เช็คได้ที่บทความนี้จป คืออะไร จป หรือเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานนั้นถือได้ว่าเป็นตำแหน่งที่ต้องแต่งตั้งตามกฎหมาย ซึ่งเป็นกฎกร

กฎการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานในสถานประกอบกิจการ2565,กฎกระทรวงเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยล่าสุด2565

กฎกระทรวงการจัดให้มีจป.ในสถานประกอบกิจการ หน่วยงาน หรือคณะบุคคล 2565

ประกาศกฎกระทรวงเรื่อง การจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานบุคลากร หน่วยงาน หรือคณะบุคคล เพื่อดำเ&

อุบัติเหตุและอันตรายจากการทำงาน,อันตรายจากการทํางาน มีอะไรบ้าง,สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุภายในที่ทำงาน,สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุบัติเหตุภายในที่ทำงาน,

สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุภายในที่ทำงาน

สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุภายในที่ทำงานสาเหตุของการเกิด อุบัติเหตุ ภายใน ที่ทำงาน          สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุภายในที่ทำงาน สามารถป้องกันได้อย่างไร ก่อนอื่น เซฟตี้อินไทย จะขออธิบายให้ท่านได้ทราบก่อนว่า สาเหตุของการเกิด อุบัติเหตุ ภายใน ที่ทำ

กฎหมายความปลอดภัยทั่วไป,เตรียมตัวให้พร้อมก่อนปฏิบัติงาน,ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายความปลอดภัย,กฎหมาย ความปลอดภัยทั่วไป,การป้องกันผู้ปฏิบัติงาน,know lage กฎหมายความปลอดภัยทั่วไป,กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานทั่วไป,กฎหมายความปลอดภัย ในการทำงานทั่วไป

เตรียมตัวให้พร้อมก่อนปฏิบัติงานรู้เรื่องกฎหมายทั่วไปด้านความปลอดภัย

เตรียมตัวให้พร้อมก่อนปฏิบัติงาน(ชุดความรู้เกี่ยวกับผู้การปฏิบัติงาน)รู้เรื่องกฎหมายทั่วไปด้านความปลอดภัยการเตรียมพร้อมในการส่วมเครื่องแบบ1  ชายเสื้อ แขนเสื้อ ขากางเกง เข็มขัด ไม่รุ่มร่าม2 ติดกระดุมเสื้อทุกเม็ดให้เรียบร้อย3 รวบผม หรือสวมหมวกคล

หน้าที่ของ จป.,  เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย จป. คือ, หน้าที่ของ จ ป, บทบาทหน้าที่ของจป., หน้าที่จป.ทุกระดับ,

หน้าที่จป.ต่างๆมีอะไรบ้าง

บทบาทเเละหน้าที่ของจป.เเต่ละจป.มีอะไรบ้างนะอัปเดตใหม่ล่าสุด!!!หน้าที่ของ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน (จป.) ระดับต่างๆ ตามกฎกระทรวง เรื่อง กฎกระทรวงการจัดให้มีจป.ในสถานประกอบกิจการ หน่วยงาน หรือคณะบุคคล 2565จป.วิชาชีพ (The safety officer in professional level)ตรวจสอบและเส

พระราชกฤษฎีกา กำหนดสาขาวิชาชีพวิทยาศาสตร์เเละเทคโนโลยีควบคุม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2565

พระราชกฤษฎีกา กำหนดสาขาวิชาชีพวิทยาศาสตร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2565

พระราชกฤษฎีกา กำหนดสาขาวิชาชีพวิทยาศาสตร์เเละเทคโนโลยีควบคุม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2565พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ไว้ ณ วันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕เป็นปีที่ ๗ ในรัชกาลปัจจุบันพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบ

ความหมายของสีหมวกนิรภัย,ความหมายของสี หมวกนิรภัย,สีหมวกนิรภัย,รู้หรือไม่ !? ทำไมสีของหมวกSAFETY ถึงมีหลากหลายสี ?,หมวกนิรภัยสีขาว,หมวกเซฟตี้สีเขียว,หมวกนิรภัย สีเหลือง,หมวกนิรภัย ความหมาย,หมวกเซฟตี้สีส้ม

รู้หรือไม่ !? ทำไมสีของหมวกSAFETY ถึงมีหลากหลายสี ? มาไขความลับกันเถอะ

รู้หรือไม่ทำสีของหมวกเซฟตี้ถึงมีหลากหลายสี?สีหมวกเซฟตี้มี7สี1.สีเหลือง2.สีขาว3.สีน้ำเงิน4.สีเเดง5.สีเขียว6.สีเทา7.สีน้ำตาลรู้หรือไม่ว่าสีหมวกเเต่ละสีต่างกันอย่างกันอย่างไรสีของหมวกนิรภัย ที่ต่างกัน เป็นสัญลักษณ์ที่สามารถบ่งบอกได้ถึง ตำแหน่ง หน้าท

สัญลักษณ์เตือนภัย, เครื่องหมายสัญลักษณ์เตือนภัย, เครื่องหมายระวังอันตราย, สัญลักษณ์เตือนอันตราย เครื่องหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย, เครื่องหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย, สัญลักษณ์ความปลอดภัยในโรงงาน, สัญลักษณ์ความ ปลอดภัย มี อะไร บ้าง, สัญลักษณ์ความปลอดภัย สีเขียว,สัญลักษณ์ความปลอดภัย สีแดง,สัญลักษณ์ความปลอดภัย สีเหลือง,ข้อควรรู้เกี่ยวกับ ป้ายความปลอดภัย

รู้หรือไม่4เเถบสีเตือนภัยเพื่อความปลอดภัยในการทำงาน

รู้หรือไม่!?4เเถบสีเตือนภัยเพื่อความปลอดภัยในการทำงานสีเเละความหมายของการเตือืนเเต่ละสีเครื่องหมายประเภทสีเเดง=ห้าม  หรือ หยุด ในสัญลักษณ์ความปลอดภัย  หมายถึง “หยุด” ตัวอย่างการใช้งาน เช่น เครื่องหมายหยุด , เครื่องหมายห้าม , เครื่องหมายอุปกรณ์ฉุ

Process Safety Management,อบรม PSM 2565,หลักสูตร การจัดการความปลอดภัยกระบวนการผลิต,ความปลอดภัย,อบรม safty,อบรมออนไลน์,การตรวจประเมิน PSM,ผู้ตรวจประเมินการจัดการความปลอดภัยกระบวนการผลิต,ความปลอดภัยในการทำงาน,อบรมความปลอดภัยฯ

ทำความรู้จักการจัดการความปลอดภัยกระบวนการผลิต

ทำความรู้จักการจัดการความปลอดภัยกระบวนการผลิตPSM (Process Safety Management) หรือ การจัดการความปลอดภัยกระบวนการผลิต คือ การจัดการให้เกิดความปลอดภัย การป้องกันการเกิดอุบัติการณ์และการบาดเจ็บ ที่เกี่ยวเนื่องกับกระบวนการผลิตที่มีการใช้สารเคมีอันตรายร้ายแรง ซึ่

เทคนิค5สง่ายๆช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในโรงงานอุตสาหกรรม

เทคนิค5สง่ายๆช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในโรงงานอุตสาหกรรม

เทคนิค 5ส ง่ายๆ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในโรงงานอุตสาหกรรม1. สะสาง (Clearing Up)  คือ การแยกของที่ต้องการออกจากของที่ไม่ต้องการและขจัดของที่ไม่ต้องการทิ้งไป เลือกทิ้งหรือแยกเอกสารที่ยังใช้งานออกจากเอกสารที่ไม่ใช้แล้ว เป็นการแยกชัดเจนระหว่างสิ่งของจำเป็นแ

เเนวทางการป้องกัน อุทกภัยในโรงงาน, เเนวทางการป้องกันการน้ำท่วมภายในโรงงาน,เเนวทางการป้องกันการน้ำท่วมในโรงงาน

รู้เท่าทันระวังภัยเมื่อเกิดอุทกภัยในโรงงานต้องทำอย่างไรEP.2

รู้เท่าทันระวังภัยเมื่อเกิดอุทกภัยในโรงงานต้องทำอย่างไรวิธีจัดการเครื่องจักรเเละสารเคมีแนวทางปฏิบัติการป้องกันอุปกรณ์เครื่องจักร ก่อนน้ำท่วม อุปกรณ์เครื่องจักรทั้งหมดหากพบว่าอุปกรณ์เครื่องจักรมีโอกาสน้ำท่วมปฏิบัติ ดังนี้1. ย้ายเครื่องจัก

เเนวทางการป้องกัน อุทกภัยในโรงงาน, เเนวทางการป้องกันการน้ำท่วมภายในโรงงาน,เเนวทางการป้องกันการน้ำท่วมในโรงงาน

รู้เท่าทันระวังภัยเมื่อเกิดอุทกภัยในโรงงานต้องทำอย่างไรEP.1

รู้เท่าทันระวังภัยเมื่อเกิดอุทกภัยในโรงงานต้องทำอย่างไรเริ่มต้นวางแผนโดยจัดทำรายการสิ่งที่จำเป็นตั้งแต่ตอนนี้ก่อนที่จะ เกิดอุทกภัยและใช้ checklist เมื่อเกิดอุทกภัยเริ่มต้นวางแผนโดยจัดทำรายการสิ่งที่จำเป็นตั้งแต่ตอนนี้ก่อนที่จะ เกิดอุทกภัยและใ

12 พฤศจิกายน วันจป. safety is safety day

12 พฤศจิกายน วันจป.

12 พฤศจิกายนวันจป. เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน          ย้อนกลับไปเมื่อ 38 ปีที่แล้ว ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องความปลอดภัยในการทำงานของลูกจ้าง ลงวันที่ 6 พฤษภาคม 2528 ซึ่งมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2528 โดยข้อกฎหมายดังกล่าวได้กำหนดให้สถานประก

เตือนนายจ้างกิจการที่ไม่มีจป.มีสิทธิ์ติดคุก จป พระราชบัญญัติ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๕๔

เตือนนายจ้าง! กิจการที่ไม่มีจป.มีสิทธิ์ติดคุก

เตือนนายจ้าง! กิจการที่ไม่มีจป.มีสิทธิ์ติดคุกหมวด ๘บทกําหนดโทษตามพระราชบัญญัติ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๕๔มาตรา ๕๓ นายจ้างผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานที่กําหนดในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๘ ต้องระวางโทษจําค

คู่มือการจัดทำระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมสำหรับโรงงานอุตสาหกรรม ISO14001:2015 โรงงาน เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน เด็กผู้ชายใส่หมวกปั่นจักรยาน โรงงานอุตสาหรกรรม เด็กผู้ชาย

คู่มือการจัดทำระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมสำหรับโรงงานอุตสาหกรรม

คู่มือการจัดทำระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมสำหรับโรงงานอุตสาหกรรม ฉบับปรับปรุง          คู่มือฉบับนี้จะอธิบายถึงระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมสำหรับโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งประกอบด้วย 5 ขั้นตอนหลักดังต่อไปนี้          1. ผู้บริหารแสดงเจตนารมณ์ที่ชัดเจนโดยการประกา

การบริหารความปลอดภัยตามกฎกระทรวงกำหนด พ.ศ. 2549, 2553

กฎกระทรวง กําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. 2549, 2553          1. กฎกระทรวงนี้ใช้บังคับแก่สถานประกอบกิจการ ดังต่อไปนี้           (1) เหมืองแร่ เหมืองหิน ปิโตรเลียมหรือปิโตรเคมี          (2) โรงงานอุตสาหกรรม

การควบคุมพลังงานอันตราย LOCK OUT TAG OUT

การควบคุมพลังงานอันตรายLOCK OUT TAG OUT          การทำงานกับเครื่องจักรทุกชนิดมีความเสี่ยงสูงต้องมีการป้องกันตัวเองและควบคุมอันตรายเอาไว้ให้ดี เพราะหากร้ายแรงก็เป็นอันตรายถึงชีวิตได้เลย โดยเฉพาะระบบล็อคและการแขวนป้ายเพื่อป้องกันอันตรายสำคัญมากต้องมีก

การจัดสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ

กฎกระทรวงการจัดสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. ๒๕๔๘          สวัสดิการแรงงานตามที่กฎหมายกำหนด เป็นสวัสดิการที่ได้มีการพิจารณาแล้วว่าเป็นสิ่งจำเป็นพื้นฐานสำหรับลูกจ้างในสถานประกอบกิจการซึ่งกฎหมายที่ใช้บังคับเพื่อให้สถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้

ประเมินความสอดคล้อง กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน

ประเมินความสอดคล้อง กฎหมายความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานประเมินความสอดคล้องกับกฎหมาย หมายถืง การตรวจสอบการปฏิบัติหรือบริบทขององค์กร(โรงงาน) ว่ามีการดำเนินการถูกต้องสอดคล้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดไว้หรือไม่ ?งานใดที่ต้องประ

เทคนิคการจัดทำ JSA สำหรับจป.

เทคนิคการจัดทำ JSA สำหรับจป.          การชี้บ่งอันตรายด้วยวิธี Job Safety Analysis (JSA) เป็นวิธีหนึ่งในการชี้บ่งอันตรายในกระบวนการจัดการความเสี่ยง โดยเป็นการค้นหาอันตรายที่อาจเกิดขึ้นในแต่ละขั้นตอนของงานหรือขั้นตอนของกิจกรรม ซึ่งส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยและสุขอ

พฤติกรรมความปลอดภัยสร้างได้ด้วย BBS

พฤติกรรมความปลอดภัยสร้างได้ด้วย BBS (Behavior Based Safety)พฤติกรรมความปลอดภัย(Behavior Base Safety-BBS) มีต้นกำเนิดจาก BST โดยในอดีตเน้นการสังเกตในกū

จป จปคืออะไร

จปคืออะไร

จปคืออะไรคือ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานเป็นบุคลากรทางด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยที่กฎหมายกำหนด           กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549 มีการกำหนดเจ้าหน้าที่ความปล

กิจการใดบ้างที่ต้องมีจป.

สถานประกอบกิจการใดบ้างที่ต้องมี จป. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๔๙            อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๑๐๓ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ อันเป็นกฎหม

ข้อกำหนดตามมาตรฐาน ISO45001 2018 ที่องค์กรต้องดำเนินการ

ข้อกำหนดตามมาตรฐานISO45001:2018 ที่องค์กรต้องทำ ข้อที่ 1. SCOPE (ขอบเขต)ข้อกำหนดนี้บ่งบอกให้ทราบถึง ขอบเขตการใช้มาตรฐาน สำหรับการบริหารจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยฉบับนี้ ทุกองค์กรสามารถนำไปวางระบบได้ เพื่อให้องค์กรบรรลุ ผลลัพธ์การดำเนินธุรกิจ และพัฒนา

บริการ inhouse public training

ไม่พลาดโปรโมชั่นพิเศษก่อนใคร




ไม่พลาดโปรโมชั่นพิเศษก่อนใคร




ตัวอย่างลูกค้าเพียงบางส่วนของเรา



บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
บริษัทที่เคยฝึกอบรมกับเซฟตี้อินไทย
ติดต่อสอบถามคลิกไลน์ Safety In Thai ติดต่อสอบถามคลิกไลน์ Safety In Thai ติดต่อสอบถามคลิกไลน์ Safety In Thai